ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZAAABACADAEAFAGAHAI
1
ประทับเวลาชื่อ - สกุล (ผู้กรอกข้อมูล)หน่วยงาน (ผู้กรอกข้อมูล)โทรศัทพ์ (ผู้กรอกข้อมูล)1. ชื่อโครงการ2. หลักการและเหตุผล (ประเด็นสำคัญย่อ ๆ)3. วัตถุประสงค์4. รายละเอียดกิจกรรม (อย่างย่อ)5. เป้าหมาย6. แหล่งงบประมาณ
7.1 ระบุรายละเอียดค่าใช้จ่ายงบประมาณ (โครงการอบรม ประชุม สัมมนา และศึกษาดูงาน)
7.11 ระบุรายละเอียดงบประมาณ (จากข้อ 7.1)
7.2 ระบุรายละเอียดงบประมาณ (โครงการอื่น ๆ เช่น จัดนิทรรศการ ออกหน่วยพื้นที่ ทำบุญตักบาตร ฯลฯ)
7.21 ระบุรายละเอียดงบประมาณ (จาก 7.2)
8. งบประมาณ (รวม)9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 1 (ต.ค., พ.ย., ธ.ค. 63)]9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 2 (ม.ค., ก.พ., มี.ค. 64)]
9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 3 (เม.ย., พ.ค., มิ.ย. 64)]
10. ผู้เสนอโครงการ11. หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก12. หมายเหตุ1. สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ (4E)2. สอดคล้องกับโครงการหลักของกระทรวง3. นโยบายที่สำคัญ
ข้อสงสัย/สอบถามเพิ่มเติมถึง สำนักยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ
9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 1 (ต.ค., พ.ย., ธ.ค. 63)]
9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 2 (ม.ค., ก.พ., มี.ค. 64)]
9. ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ [ไตรมาสที่ 3 (เม.ย., พ.ค., มิ.ย. 64)]
2
6/8/2020, 8:32:45นางสุนทรี กิจการภารกิจด้านอำนวยการ0956409287
โครงการตรวจสอบภายในเครือข่ายอำเภอสรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
เป็นไปตามพระราชบัญยัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 มาตรา 79 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการควบคุมความเสี่ยงโดยให้ถือปฏิบัติตามใสตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
เพื่อเป็นการสอบทานกระบวนการปฏิบัติงานทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการดำเนินงาน (O)
(2) ด้านการรายงานต่าง (R) (3) ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อกฎหมาย (C)
ตรวจสอบภายใน รพ.สต.ในอำเภอศรีสำโรง จ.สุโขทัย จำนวน 19 แห่ง
รพ.สต.ในอำเภอศรีสำโรง จ.สุโขทัย จำนวน 19 แห่ง
เงินบำรุง รพ.9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ค่าตอบแทน (ค่าเบี้ยเลี้ยง) (120 บาท * 5 คน * 5 ครั้ง) เท่ากับ 3,000 บาท
1) ค่าตอบแทน
ทน (ค่าเบี้ยเลี้ยง) (120 บาท * 5 คน * 5 ครั้ง) เท่ากับ 3,000 บาท
3000เดือนที่ 1นางสุนทรี กิจการภารกิจด้านอำนวยการ
ดำเนินการตรวจสอบภายในโดย คณะกรรมการควบคุมภายใน รพ.
4) ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
33) โครงการประเมินคุณธรรมความโปร่งใส11) ไม่มี
3
7/8/2020, 10:52:44นางจันทนา ยูรประถม
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
0818869525
โครงการให้ภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ บี แก่บุคลากรในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
บุคลากรการแพทย์มีความเสี่ยงสัมผัสเลือดและสารคัดหลั่งจากการปฏิบัติงาน มีโอกาสติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จากการปฏิบัติงาน
เพื่อทราบสถานการณ์การมีภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ บี และให้ภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ บีแก่เจ้าหน้าที่เข้าปฏิบัติงานใหม่
เจ้าหน้าที่ที่เข้าปฏิบัติงานใหม่เจาะเลือดตรวจหาร Anti HBc Anti HBs HBsAg และให้ภูมิคุ้มกันตามผลการตรวจ และตรวจ LFTในเจ้าหน้าที่ที่มีประวัติติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี
เจ้าหน้าที่ได้รับภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบ บี และบุคลากรที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ได้รับการติดตามสุขภาพ
เงินบำรุง รพ.
1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม
ค่าตรวจหาร HBsAg ,Anti HBc,Anti HBs,ค่าวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี
2) ค่าใช้สอย, 3) ค่าวัสดุ
ค่าตรวจหาร HBsAg 44 x130บาท=5720บาท ,Anti HBc 44 คนx200บาท=8800บาท,Anti HBs 44 คนx 150=6600บาท,ค่าวัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี 44 คนx534บาท=23496บาท
44616เดือนที่ 3นายแพทย์ธงชัย สุมิตสวรรค์งานICและงานอาชีวอนามัย-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ11) ไม่มี-
4
7/8/2020, 11:24:42นางจันทนา ยูรประถม
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
0818869525
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในชุมชน
ปัจจุบันมีผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาจากโรงพยาบาลต้องกลับไปนอนพักที่บ้าน และจากการรับผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล พบว่าบางรายมีการติดเชื้อดื้อยา
เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในชุมชน
ให้ความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาแก่พยาบาลวิชาชีพ รพสต.เขต อำเภอศรีสำโรง
ไม่เกิดการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในชุมชน
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 13) ค่าอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 20 บาท x 2 มื้อ) จำนวน 1,200 บาท 2.ค่าอาหาร (ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 1,500 บาท 3.ค่าวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ 2,300 บาท
2) ค่าใช้สอย, 3) ค่าวัสดุ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 20 บาท x 2 มื้อ) จำนวน 1,200 บาท 2.ค่าอาหาร (ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 1,500 บาท 3.ค่าวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ 2,300 บาท
5000เดือนที่ 1นายแพทย์ธงชัย สุมิตสวรรค์
คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลและคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
-
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
12) โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน-
5
7/8/2020, 11:42:58นางจันทนา ยูรประถม
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1324
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล
จากการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลพบว่ามีการติดเชื้อดื้อยาประมาณร้อยละ 60 เพื่อลดอัตราการติดเชื้อเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลและในชุมชน จึงจัดโครงการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร
เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล
บรรยายให้ความรู้ อภิปราย และถาม-ตอบ
อัตราการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลลดลง
เงินบำรุง รพ.
1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม, 3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 4) ค่าประกาศนียบัตร, 5) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 10) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร, 13) ค่าอาหาร, 14) ค่าเช่าที่พัก, 15) ค่ายานพาหนะ
1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม 2000 บาท 2) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 9050 บาท 3) ค่าประกาศนียบัตร 500 บาท 4) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 2000 บาท 5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 150คน*20บาท*2 มื้อ=6000บาท 6) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 150คน*15 บาท=2250บาท 7) ค่าสมนาคุณวิทยากร 7 ชั่วโมง*600บาท=4200 บาท 8) ค่าอาหาร 150คน*50บาท*1มื้อ= 7500 บาท 9) ค่าเช่าที่พัก 1 คืน 1500 บาท 10) ค่ายานพาหนะ 5000 บาท
1) ค่าตอบแทน, 2) ค่าใช้สอย, 3) ค่าวัสดุ
1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม 2000 บาท 2) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 9050 บาท 3) ค่าประกาศนียบัตร 500 บาท 4) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 2000 บาท 5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 150คน*20บาท*2 มื้อ=6000บาท 6) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 150คน*15 บาท=2250บาท 7) ค่าสมนาคุณวิทยากร 7 ชั่วโมง*600บาท=4200 บาท 8) ค่าอาหาร 150คน*50บาท*1มื้อ= 7500 บาท 9) ค่าเช่าที่พัก 1 คืน 1500 บาท 10) ค่ายานพาหนะ 5000 บาท
40000เดือนที่ 3นายแพทย์ธงชัย สุมิตสวรรค์
คระกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลและคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
12) โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน-
6
7/8/2020, 11:54:48นางจันทนา ยูรประถม
กลุ่มงานการพยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1324
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
จากการวัดประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาลได้ร้อยละ 75 จึงพัฒนาบุคลากรในการเฝ้าระวังฯเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เพื่อพัฒนาบุคลากรในการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
บรรยาย ฝึกปฏิบัติ
ประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลมากกว่าร้อยละ 80
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 5) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
1) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 1600 บาท2) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 2000 บาท3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35คน*20บาท*2 มื้อ=1400บาท
2) ค่าใช้สอย, 3) ค่าวัสดุ
1) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 1600 บาท2) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 2000 บาท3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35คน*20บาท*2 มื้อ=1400บาท
5000เดือนที่ 2นายแพทย์ธงชัย สุมิตสวรรค์
คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ11) ไม่มี-
7
16/8/2020, 9:50:35อภันตรี กองทองStroke unit0872031933
โครงการ รับการประเมินมาตรฐานสถานบริการโรคหลอดเลือดสมอง Standard Stroke Center Certify (SSCC) ของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ด้วย คณะทำงานโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้จัดตั้งหอผู้ป่วยวิกฤตโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke unit) และได้ผ่านการรับรองมาตรฐานการจัดตั้งจากสถาบันประสาทเมื่อปี2561 คณะทำงานโรคหลอดเลือดสมองได้ร่วมกันพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 2 ปีและส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น ดังนั้นคณะทำงานโรคหลอดเลือดสมอง จึงมีความประสงค์ขอรับการประเมินมาตรฐานสถานบริการโรคหลอดเลือดสมอง (SSCC)
เพื่อพัฒนาหอผู้ป่วยวิกฤตโรคหลอดเลือดสมองและระบบบริการของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ให้ได้มาตรฐานตามการประเมินมาตรฐานสถานบริการโรคหลอดเลือดสมอง
1.นำเสนอผลการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพการดูแลผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยต่อคณะตรวจเยี่ยมจากสถาบันประสาท
2.ตรวจเยี่ยมงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน งานผู้ป่วยนอก ห้องปฏิบัติการทางคลินิก แผนกเอกซเรย์ เภสัชกรรมและเวชศาสตร์ฟื้นฟู หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย และหอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง
ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในหน่วยงานเหล่านี้ ได้แก่ งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน งานผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยวิกฤตโรคหลอดเลือดสมอง หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง ห้องปฏิบัติการทางคลินิก แผนกเอกซเรย์ เภสัชกรรมและเวชศาสตร์ฟื้นฟูของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน 26 คน

เงินบำรุง รพ.
5) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร, 13) ค่าอาหาร
) ของที่ระลึกวิทยากรภายนอก (๒๐๐ บาท x ๔ คน)ค่าป้ายไวนิล ป้ายละ 380 บาท 1 ป้ายค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (๒๕ บาท x ๓๐ คน x ๒ มื้อ) เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท ค่าอาหารกลางวัน (๘๐ บาท x ๓๐ คน x ๑ มื้อ) เป็นเงิน ๒,๔๐๐ บาท เป็นเงิน ๘,๐๐ บาท
3) ค่าวัสดุ-5080เดือนที่ 2อภันตรี กองทองStroke unit
ระยะเวลาดำเนินการอาจเปลี่ยนแปลงตามความพร้อมของคณะผู้ตรวจเยี่ยม (โครงการนี้เคยผ่านการอนุมัติแล้วในปี 2563 แต่เนื่องจากสถานการณ์โควิด ผู้ตรวจเยี่ยมจึงขอเลื่อนเป็นปี2564)
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
10) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
11) ไม่มีไม่มี
8
16/8/2020, 10:50:41อภันตรี กองทองStroke unit0872031933
Mapping กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองและกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เป็นโรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมาอย่างต่อเนื่อง โดยโรคหลอดเลือดสมอง เมื่อเกิดอาการแล้วผู้ป่วยส่วนหนึ่งประมาณร้อยละ15 นั้นเสียชีวิต ผู้ป่วยที่รอดชีวิตร้อยละ60 จะหลงเหลือความพิการและต้องใช้เวลาฟื้นฟูค่อนข้างนาน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและครอบครัวสำหรับโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเฉลี่ย 600 รายต่อปี ซึ่งอัตราตาย ปี 2560 – 2562 ร้อยละ 13.2, 11.02และ9.73 ตามลำดับ ส่วนโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันพบว่าอัตราตายยังคงเกินเป้าหมายที่กำหนดเช่นกัน โดยในปี 2560-2562 พบอัตราตายร้อยละ 12.34, 10.93 และ11.67 ตามลำดับ ซึ่งปัจจัยการมาโรงพยาบาลล่าช้ายังเป็นสาเหตุสำคัญในการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน และเข้ารับบริการทันเวลาเมื่อเกิดอาการ
1. ประชุมชี้แจงแก่เจ้าหน้าที่รพ.สต.และกลุ่มเสี่ยงตำบลสามเรือน
2. Mapping กลุ่มเสี่ยงที่มี CVD risk ตั้งแต่ระดับ2-5 โดยเชื่อมต่อระบบGPSกับรถพยาบาล
1.เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสามเรือน จำนวน 2 คน 2.กลุ่มเสี่ยงที่มี CVD risk ตั้งแต่ระดับ2-5 ตำบลสามเรือน จำนวน 100 คน
เงินบำรุง รพ.13) ค่าอาหาร-4) ค่าสาธารณูปโภค
ค่าอาหารกลางวัน 8 คน x 50 บาท x 5 มื้อ จำนวน 2000 บาท 2.ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ จำนวน 5000 บาท 3.ค่าสัญญาณโทรศัพท์ 500 บาท x 12 เดือน จำนวน 6000 บาท
13000เดือนที่ 3อภันตรี กองทอง
คณะทำงานโรคหลอดเลือดสมองและคณะทำงานโรคหลอดเลือดหัวใจ
-
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
10) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
11) ไม่มี-
9
17/8/2020, 12:12:57ภัทราวดี โตอุ่นเพ็ชรกลุ่มงานบริหารทั่วไป1308
โครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับอัคคีภัยเบื้องต้นและซ้อมการอพยพหนีไฟ ประจำปี๒๕๖๔
ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ ได้กำหนดให้มีระบบการป้องกันและการระงับอัคคีภัย ซึ่งโรงพยาบาลพุทธศรีสังวรสุโขทัย เป็นโรงพยาบาลที่มีผู้มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ญาติ รวมถึงบุคลากรของโรงพยาบาลเป็นจำนวนมาก จึงส่งผลต่อการบริหารจัดการความปลอดภัยด้านอัคคีภัยหากเกิดเหตุฉุกเฉินภายในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลพุทธศรีสังวรสุโขทัย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการลดความเสี่ยงด้านอัคคีภัยและภาวะที่จะก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย ผู้มาใช้บริการ และเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล ตลอดจนเป็นการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง และเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของโรงพยาบาลดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับอัคคีภัยเบื้องต้นและซ้อมการอพยพหนีไฟ ประจำปี ๒๕๖๔ ขึ้น เพื่อเป็นการทบทวนและสร้างความรู้ ตลอดจนฝึกทักษะให้เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลมีความเข้าใจ ปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน สามารถป้องกันระงับอัคคีภัยในหน่วยงานได้ และรวมถึงสามารถปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานภายนอกได้
๔.๑ เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีความรู้พื้นฐาน และสามารถใช้อุปกรณ์เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย รวมทั้งสามารถสังเกตสถานที่ที่ไม่ปลอดภัยโดยคำนึงถึงสิทธิเรื่องความปลอดภัยของตนเองและผู้ที่เข้ามารับบริการภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
๔.๒ เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีบุคลากร และอุปกรณ์ป้องกันที่สามารถใช้ในการระงับอัคคีภัยที่ถูกต้องในเบื้องต้นได้ถูกต้อง
๔.๓ เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีการเตรียมความพร้อม ป้องกันการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
๔.๔ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแนวทางการดำเนินการตามแผน ให้กับบุคลากรทุกคน
๔.๕บุคลากรตามแผนฉุกเฉินสามารถปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องได้

ผู้รับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการป้องกันอัคคีภัย การปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยวิธีการแจ้งเหตุสาธารณภัย และวิธีการดับเพลิงเบื้องต้น สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้จริง เมื่อเกิดเหตุการณ์
๕.๑ เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่บุคลากรภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน ๑๐๐ คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักสูตรการดับเพลิงเบื้องต้น
และสามารถเตรียมความพร้อมในการอพยพผู้ป่วย ผู้ใช้บริการ และเจ้าหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร, 13) ค่าอาหาร
- ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก จำนวน ๑ คน x ๓ ชม.x๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จำนวน ๒ คน x ๓ ชม.x ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๐๐คน x ๖๐ บาท x ๑ วัน เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๑๐๐คน x ๒๐ บาท x ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท - ค่าอุปกรณ์ในการฝึกอบรม (ป้ายไวนิล,แก๊ส,เคมีดับเพลิง) เป็นเงิน ๒,๐๐๐บาท รวมเป็นเงิน ๑๗,๔๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้
2) ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก จำนวน ๑ คน x ๓ ชม.x๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จำนวน ๒ คน x ๓ ชม.x ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑๐๐คน x ๖๐ บาท x ๑ วัน เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๑๐๐คน x ๒๐ บาท x ๒ มื้อ เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท - ค่าอุปกรณ์ในการฝึกอบรม (ป้ายไวนิล,แก๊ส,เคมีดับเพลิง) เป็นเงิน ๒,๐๐๐บาท
17400เดือนที่ 2, เดือนที่ 3
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ENV)
กลุ่มงานบริหารทั่วไป
4) ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
42) โครงการสนับสนุนงานพื้นฐาน11) ไม่มี
10
19/8/2020, 22:31:29บุปผา เพชรหมองEndoscope0956328986
โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่
คัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ตามนโยบาย service plan ให้ครบตามเป้า
คัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ตามนโยบาย service plan
มหกรรมส่องกล้องโดยความร่วมมือจากอาจารย์แพทย์และบริษัทต่างๆ
ส่องกล้องลำไส้ใหญ่ (colonoscope) 100 ราย
เงินบำรุง รพ.
1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม, 3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 13) ค่าอาหาร, 14) ค่าเช่าที่พัก, 15) ค่ายานพาหนะ
18,0003) ค่าวัสดุ57,00075000เดือนที่ 2บุปผา เพชรหมองห้องตรวจพิเศษ
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
20) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง
11) ไม่มี
11
8/9/2020, 12:04:19บุญญรัตน์ รัตนประภา
คณะกรรมชมรมส่งเสริมการวิจัย โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
0812817835
อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย เครือข่ายโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
พัฒนางานประจำให้เป็นงานวิจัย เป็นมิติหนึ่งของการพัฒนาการให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่จะส่งผลให้มีการพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) โดยกระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสามารถค้นหา วิเคราะห์ปัญหาและหากลวิธีการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2.1 สนับสนุนองค์ความรู้ในการทำวิจัยแก่บุคลากร เครือข่ายโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
2.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ เจตคติและทักษะการวิจัยที่ถูกต้อง
2.3 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถทำ และอ่านผลงานวิจัยได้ถูกต้องอย่างมีคุณภาพ
2.4 เพื่อผลิตผลงานวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ทุกสาขาวิชาชีพ
4.1 อบรมให้ความรู้ เรื่องการทำวิจัย
4.2 ฝึกปฏิบัติทำวิจัยและเขียนรายงานวิจัย
4.3 ติดตามให้คำปรึกษา ประเมินผลเป็นระยะ
บุคลากรโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเครือข่าย จำนวน 50 คน
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 4) ค่าประกาศนียบัตร, 5) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 6) ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 10) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร, 13) ค่าอาหาร, 14) ค่าเช่าที่พัก, 15) ค่ายานพาหนะ
การอบรมแบ่งเป็น 3 ระยะ, ระยะละ 3 วัน 1) ค่าตอบแทนวิทยากร =120,600 บาท 2) ค่าที่พักวิทยากร =20,300 บาท 3) ค่าเดินทางวิทยากร =54,000 บาท 4) ค่าอาหารกลางวัน =27,000 บาท, ค่าอาหารว่าง =27,000 บาท 5)ค่าอาหารเย็น =18,000 บาท 6) ค่าวัสดุสำนักงาน 6,000 บาท, 7) ค่าถ่ายเอกสาร 19,000 บาท 8) ค่าธรรมเนียมรับรองหลักสูตร 2,500 บาท
3) ค่าวัสดุ-294400เดือนที่ 1เดือนที่ 2, เดือนที่ 3
คณะกรรมการชมรมส่งเสริมการวิจัย โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
คณะกรรมการชมรมส่งเสริมการวิจัย โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
40) โครงการพัฒนางานวิจัย /นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์
11) ไม่มี
12
8/9/2020, 14:42:23สุพรรณา เอื้อกุศลสมบูรณ์หอผู้ป่วยสูติกรรม0831661077
ประชุมวิเคราะห์สถานการณ์มารดาและทารก
การบรีการงานอนามัยแม่และเด็ก
ป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก
ประชุมหาสาเหตุและแนวทางการป้องกันถาวะแทรกซ้อนงานอนามัยแม่และเด็ก
จัดการประชุมทุก 2 เดือนเงินบำรุง รพ.13) ค่าอาหาร37502) ค่าใช้สอย37503750เดือนที่ 1เดือนที่ 2เดือนที่ 3สุพรรณา เอิ้อกุศลสมบูรณ์สูติกรรม
ประชุมคกก.งานอนามัยแม่และเด็กโซนเหนือ
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
13
9/9/2020, 11:23:27สุพรรณา เอื้อกุศลสมบูรณ์สูติกรรม3068
การฟื้นฟูการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ทบทวนและนำความรู้ใหม่ ๆ นำมาเผยแพร่และนำปัญหาที่เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนสแม่มาหาแนวทางแก้ไข
ปฏิบัติงานได้ถูกต้องทฤษฎีและปฏิบัติ
เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องงานแม่และเด็ก
เงินบำรุง รพ.9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม43752) ค่าใช้สอย43754375เดือนที่ 1สุพรรณา เอิ้อกุศลสมบูรณ์สูติกรรมรายการอาจมีการเปลี่ยนแปลง
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
14
10/9/2020, 10:36:02
ภก.พุทธิ​วัฒน์​ เชื้อชาติ​ทอง​ธ​กุล​
เภสัชกรรม0892711132
โครงการอบรมความรู้เชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการแพ้ยาและความปลอดภัยด้านยา
ปัญหาการใช้ยามีความสำคัญและองค์ความรู้ในการใช้ยายิ่งมีความสำคัญต่อบุคลากรทางการแพทย์​เพื่อให้เกิด​ความปลอดภัย​ในการดูแลผู้ป่วย
1.เพื่อให้บุคลากรมีความรู้เรื่องความคลาดเคลื่อนทางยาและการแพ้ยา
2.สร้างความเข้าใจที่ตรงกันในเรื่องความคลาดเคลื่อนทางยาและการแพ้ยา
จัดอบรมวิชาการ
บุคลากรทางการแพทย์ในรพ.100คน
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร
ค่าตอบแทนวิทยากร​ 1คน×600บ.×6ชม.​ ค่าอาหารกลางวัน​ 100คน×50บาท×1มื้อ​ อาหารว่าง​ 100คน×20บาท×2มื้อ​ ค่าวัสดุที่ใช้อบรม​ 1400​บาท
1) ค่าตอบแทน, 3) ค่าวัสดุ
ค่าตอบแทนวิทยากร​ 1คน×600บ.×6ชม.​ ค่าอาหารกลางวัน​ 100คน×50บาท×1มื้อ​ อาหารว่าง​ 100คน×20บาท×2มื้อ​ ค่าวัสดุที่ใช้อบรม​ 1400​บาท
15000เดือนที่ 2ภญ.จตุพร​ สุมิตสวรรค์​งานวิชาการและพัฒนาระบบยา
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
34) โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
15
11/9/2020, 8:54:58
ภก.พุทธิวัฒน์ เชื้อชาติทองธกุล
เภสัชกรรม0892711132
สัปดาห์เภสัชกรรมเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย
ช่วยเพิ่มพูนองค์ความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยา หลักการเก็บรักษายาเพื่อไม่ให้ยาเสื่อมสภาพ และการให้คำแนะนำในการใช้ยาได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งเป็นบทบาทของเภสัชกรในโรงพยาบาลที่สำคัญเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาต่อผู้ป่วย
1. เพื่อเผยแพร่บทบาทของเภสัชกรในโรงพยาบาลให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนที่มารับบริการ
2. เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนที่มารับบริการเกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา
1. การให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้องเหมาะสม แก่ประชาชนที่มารับบริการในโรงพยาบาล
2. การจัดแสดงบอร์ดเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรมและความปลอดภัยในการใช้ยา
3. การสาธิตการเตรียมยาอย่างง่ายและการให้บริการน้ำดื่มสมุนไพร
4. การสาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ
5. การให้คำปรึกษาและคำแนะนำในการใช้ยาอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ แก่ประชาชนที่มารับบริการ
6. การให้ความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพร แพทย์แผนไทย และการให้บริการนวดแผนไทย
ตัวแทนบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาล และประชาชนที่มารับบริการ จำนวน 200 คน
เงินบำรุง รพ.9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
3. ค่าอาหารว่าง ในการจัดงาน (200 คน x 20 บาท x 1 มื้อ) 4,000 บาท
3) ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดงาน 1,400 บาท 2. ค่าวัสดุในการสาธิตเตรียมยาและน้ำสมุนไพร 4,600 บาท
10000เดือนที่ 3ภญ.จตุพร สุมิตสวรรค์เภสัชกรรม
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
34) โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
16
11/9/2020, 9:05:06
ภก.พุทธิวัฒน์ เชื้อชาติทองธกุล
เภสัชกรรม0892711132
พัฒนาเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ปีงบประมาณ 2564 เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
เพื่อให้เครือข่ายและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ เกิดการตระหนัก และการเฝ้าระวังขึ้นในชุมชน ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภคในต่อ ๆ ไป
1. เพื่อให้เครือข่ายและผู้บริโภคในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
2. เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังรถเร่ขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน
3. เพื่อการพัฒนาเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
1. เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคออกสำรวจร้านค้า ร้านชำในชุมชนที่พร้อมเข้าร่วมโครงการประจำปีงบประมาณ 2564
2. จัดอบรมความรู้เชิงปฏิบัติการแก่เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค
3. ลงพื้นที่ร้านค้า ร้านชำหลังให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
4. วัดผล
5. สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ
1. เครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภค เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
2. ร้านค้า ร้านชำ ในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ไม่พบผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย
เงินบำรุง รพ.
3) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 4) ค่าประกาศนียบัตร, 5) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 9) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 12) ค่าสมนาคุณวิทยากร, 13) ค่าอาหาร
-ค่าประกาศนียบัตร 2,000 บาท -ค่าถ่ายเอกสาร/ค่าพิมพ์เอกสาร และสิ่งพิมพ์ 2,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 150 คน X 20 บาท X 2 มื้อ) 6,000 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร (จำนวน 1 ชั่วโมง 30 นาที X 4 คน X 600 บาท) 2,400 บาท -ค่าอาหาร (จำนวน 150 คน X 50 บาท X 1 มื้อ) 7,500 บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายแต่ละรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
3) ค่าวัสดุ
-ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ 2,000 บาท
21900เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3ภญ.จตุพร สุมิตสวรรค์เภสัชกรรม
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
34) โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
17
15/9/2020, 20:33:30มนรดา หลำเจริญเวชกรรมฟื้นฟู0897089325
ฟื้นฟูสมรรถภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานแบบครบวงจร อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
ปริมาณผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนบริเวณเท้ามีปริมาณที่เพื่มสูงมากขึ้น หากผู้ป่วยไม่มีองค์ความรู้และขาดตรวจประเมินเบื้องต้นอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดบาดแผลเรื้อรังจนนำไปสู่การสูญเสียอวัยะวะตามมาได้
1.เพื่อให้ความรู้การดูแลเท้าและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
2.เพื่อตรวจประเมินเท้าผู้ป่วยเบาหวาน เขตอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
3.เพื่อเป็นการฟื้นฟูและป้องกันการเกิดแผลที่เท้าระยาวในผู้ป่วยเบาหวาน
4.เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการบริการด้านการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเท้าเบื้องต้นโดยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
2.ตรวจประเมินเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยนักกายภาพบำบัด
3.ผู้ป่วยเบาหวานที่มีปัญหาที่เท้าส่งพบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูเพื่อประเมินและรับอุปกรณ์เสริมหรือรองเท้าพิเศษ
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงระดับกลางขึ้นไปในเขตพื้นที่อำเภอศรีสำโรง ตำบลละ 30 คน
เงินบำรุง รพ.
1.1 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม, 1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.6 ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 1.13 ค่าอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (45คนx20บาทx2มื้อx19แห่ง) จำนวน 34,200 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน (45คนx50บาทx2มื้อx19แห่ง) จำนวน 42,750 บาท
3.ค่าอุปกรณ์ตรวจประเมิน monofilament 10g. 10 ชุด จำนวน 10,000 บาท
4.ค่าป้ายไวนิล 1 ป้าย จำนวน 400 บาท
5.ค่าถ่ายเอกสารและค่าเอกสารหนังสืออบรม (30 คนx25บาทx19แห่ง) จำนวน 14,250 บาท
6.ค่าเครื่องเขียน (30 คนx10บาทx19แห่ง) จำนวน 5,700 บาท
7.ค่าซองเอกสารสำหรับผู้ร่วมอบรม (30 คนx20บาทx19แห่ง) 11,400 บาท
2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
1.ค่าใช้สอย (ค่าอาหารกลางวัน 45คนx50บาทx2มื้อx19แห่ง) จำนวน 42,750 บาท
2.ค่าวัสดุ -กระดาษ A4 (85บาทx 5 รีม จำนวน 170 บาท ) จำนวน 425 บาท
3.ค่าวัสดุ-คลิปบอร์ดลงทะเบียน ( 10 อัน x 40บาท ) จำนวน 400 บาท
4.ค่ากล่องใส่เอกสาร (3อัน x 100 บาท) จำนวน 300 บาท
119825เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3มนรดา หลำเจริญเวชกรรมฟื้นฟู
รายการค่าใช้จ่ายอาจมีการเปลี่ยนแปลง
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
2) โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
18
18/9/2020, 15:13:23นางอรุณ โพธิงาม
ศูนย์ดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
0865061249
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ปัจจุบันความต้องการการดูแลแบบประคับประคองมากขึ้นในปี พ.ศ. 2561-2562 มีผู้รับบริการ 408 และ 571 ราย ตามลำดับ ทำให้ภาระงานของศูนย์ดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น การให้บริการทำได้ไม่ครอบคลุม ระบบการดูแลแบบประคับประครองในประเทศไทยไม่มีโครงสร้างในระบบการบริหารงาน ทำให้ขาดผู้รับผิดชอบด้านนี้โดยตรง การจัดระบบบริการต่างๆ ทำได้ยาก พบประเด็นปัญหาการจัดการอาการปวด หรืออาการรบกวนอื่นๆ ยังไม่เหมาะสม แนวทางปฏิบัติเดิมยังไม่ชัดเจนโดยเฉพาะบทบาทของเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนร่วมในการดูแล ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ป่วยและครอบกับทีมสหสาขาวิชาชีพ รวมทั้งระบบการส่งต่อ และระบบการเยี่ยมบ้านยังล่าช้า ศูนย์ดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ครอบคลุมเหมาะสม ตั้งแต่แรกรับจนจำหน่าย และกบับไปดูแลต่อเนืรองที่บ้านได้
3.1 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคองที่เหมาะสมกับบริบทของโรงพยายาลศรีสังวรสุฌขทัย
3.2 เพื่อศึกษาผลของการนำรูปแบบการดูแลแบบประคับประคองไปใช้
4.1 ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
4.2 ทบทวนเอกสารและแนวทางการดูแล
4.3 จัดทำแนวทางการดูแลใหม่ และชี้แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
4.4 นำแนวทางการดูแลแบบประคับประคองใหม่ไปทดลองใช้
4.5 รวบรวมปัญหาการใช้แนวทางใหม่และดำเนินการแก้ไขปรับปรุง
4.6 เก็บรวบรวมข้อมูลและสรุปผลการดำเนินงาน
4.7 รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
5.1โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมีรูปแบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
5.2 ผู้ป่วยร้อยละ 80 สามารถจัดการอาการรบกวนได้
5.3 ผู้ป่วยร้อยละ 60 ได้รับการประชุมครอบครัวและหรือได้รับการวางแผนดูแลล่วงหน้า
5.4 ผู้ป่วยร้อยละ 60 ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านภายในเวลาที่กำหนด
5.5 ความพึงพอใจของผู้ป่วยและหรือญาติมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
1. ค่าวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ (แฟ้ม 40 แฟ้ม x 40บาท เป็นเงิน 1,600 บาท ), (กระดาษ A4 1 รีม x 100 บาท ), (พลาสติกเคลือบกระดาษA4 Laminating Pouch Film 1 กล่อง X400 บาท) รวมเป็นเงิน 2,100 บาท
2.ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ (40 ชุด x 50 บาท) เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าอ่หารว่างและเครื่องดื่ม (40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ) เป็นเงิน 2,000 บาท
6100เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3
คณะกรรมการดำเนินงานการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
ศูนย์ดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
-
15) โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน
11) ไม่มี
19
16/9/2020, 15:58:52นางเบญจวรรณ ใจบุญกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู0815333554
โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายเพื่อสร้างชุมชนสุขภาวะ อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
ปัจจุบันกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟูมีบริบทในการรักษาและฟื้นฟูเป็นส่วนใหญ่ ยังมีบทบาทในด้านการส่งเสริมสุขภาพค่อนข้างน้อย ดังนั้นเพื่อพัฒนางานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนซึ่งต้องอาศัยชุมชนเป็นกำลังสำคัญจึงได้จัดโครงการโครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายเพื่อสร้างชุมชนสุขภาวะ อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัยเพื่อสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน คืนข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชนและค้นหาปัญหาสุขภาพของแต่ละชุมชน เพื่อเป็นแนแนวทางสู่ชุมชนสุขภาวะต่อไป
1.มีการประชุมภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอศรีสำโรง
2.ภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอศรีสำโรงได้รับรู้ข้อมูลสุขภาพและได้ค้นหาปัญหาสุขภาพในชุมชน
จัดกิจกรรมให้ความรู้และคืนข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในชุมชนให้ภาคีเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วย วสค. รพสต. อปท. ผู้นำชุมชน อสม ฯลฯ ,จัดกิจกรรมเพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพในชุมชนและกิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในเครือข่าย
พัฒนาภาคีเครือข่ายเพื่อสร้างชุมชนสุขภาวะใน อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
เงินบำรุง รพ.
1.1 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม, 1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 1.13 ค่าอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (80 คน x 20 บาท x 2 มื้อ) จำนวน 3,200 บาท
2.ค่าอาหาร (ค่าอาหารกลางวัน 80 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 4,000 บาท
3.ค่าวัสดุ (ค่าป้ายไวนิล ป้ายละ 500 บาท ) จำนวน 500 บาท
4.ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 1,000
5.ค่าถ่ายเอกสารค่าพิมพ์เอกสารสิ่งพิมพ์ 300
6.ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสาร 1,400

รวม10,400 บาท
10400เดือนที่ 3เบญจวรรณ ใจบุญกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ชื่อโครงการและรายละเอียดอาจมีการปรับเปลี่ยนเล็กน้อย
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
9) โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และ อสม.
11) ไม่มี
ไม่รู้ว่าตอบตรงประเด็นหรือไม่เพราะค่อยเข้าใจค่ะ
20
18/9/2020, 16:44:56
ขวัญนิญานันท์ เชื้อชาติทองธกุล
เวชกรรมฟื้นฟู (กิจกรรมบำบัด)
0979462683
โครงการกิจกรรมกลุ่มพัฒนาความสามารถผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
1. ความสำคัญ
โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคที่พบบ่อยและจัดเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากไม่เพียงแต่เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยเท่านั้น แต่ผู้ป่วยโรคนี้ยังเกิดความพิการได้มากด้วย ความพิการที่เกิดขึ้นของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองทำให้ความสามารถในการกลับมาปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และทำกิจกรรมต่างๆ นั้นลดลง อาจเนื่องมาจากไม่สามารถเดินได้ ไม่สามารถหยิบจับหรือใช้มือทำกิจกรรมต่างๆได้ มีภาวะผิดรูป หรือความพิการอื่นๆหลังจากเกิดภาวะพิการขึ้น นอกจากนี้ผู้ป่วยมักมีปัญหาด้านสุขภาพจิต เช่น ซึมเศร้า เครียด วิตกกังวล มีปัญหาการแยกตัวจากสังคม (Social isolation) ซึ่งมักเกิดขึ้นได้เสมอ
กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้ดำเนินงานเชิงรุกในชุมชนอย่างต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 ดำเนินงานมาจนปัจจุบัน และได้มีการออกหน่วยเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง (Intermediate care) โดยตลอด
ทั้งนี้จากประสบการณ์การทำงานเชิงรุกในชุมชนกับคนพิการในหลายๆปีที่ผ่านมา ทำให้เห็นว่าคนพิการส่วนใหญ่จำกัดตัวเองอยู่แต่ในบ้าน มีทัศนะคติที่มองว่าตนเองไม่มีความสามารถที่จะทำอะไรได้ จึงไม่ให้ความสำคัญกับการทำกิจกรรม การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทั้งที่จากการประเมินความสามารถในการทำงานแล้ว คนพิการมีศักยภาพและความสามารถมากกว่านั้น
กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ตระหนักว่าการที่จะช่วยเหลือให้ผู้ป่วยหรือคนพิการมองเห็นคุณค่าและความสามารถของตนเอง การกระตุ้นให้ผู้ป่วยหรือคนพิการ ต้องการที่จะทำกิจกรรมตามศักยภาพของตนเอง การประคับประคองสภาพจิตใจให้ยอมรับความพิการและ การส่งเสริมการเข้าสู่สังคมนั้น ควรเริ่มต้นตั้งแต่การฟื้นฟูสมรรถภาพในโรงพยาบาล ดังนั้นกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จึงมีแนวคิดในการจัดทำ โครงการกิจกรรมกลุ่มพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้ป่วยและคนพิการได้แสดงศักยภาพ ความสามารถ เพิ่มคุณค่าในตัวเอง เพิ่มทักษะการเข้าสังคม และการอยู่ร่วมกับผู้อื่น โดยผ่านทางการปฏิบัติกลุ่มกิจกรรม กลุ่มนันทนาการ กลุ่มกิจวัตรประจำวัน กลุ่มออกกำลังกาย หรือกลุ่มความคิดความเข้าใจ เป็นต้น
1. เพื่อเพิ่มศักยภาพ ส่งเสริมคุณค่าในตนเองแก่ผู้ป่วย หรือ คนพิการ
2. เพื่อส่งเสริมทักษะการมีส่วนร่วมภายในกลุ่มและสังคม การปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
3. เพื่อให้ผู้ป่วย หรือ คนพิการ มีโอกาสแสดงออกทางความคิด ความสามารถของตนเอง
4. ญาติ /ผู้ดูแล เปิดโอกาสให้ผู้ป่วย หรือ คนพิการได้ปฏิบัติกิจกรรมการดำเนินชีวิตด้วยตนเอง
จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการเข้าสังคม 2 ครั้ง/ 1 เดือน รวม 20 ครั้ง (เริ่มหลังจากโครงการได้รับการอนุมัติ)
1) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ ๘๐ มีคะแนน Barthel index ดีขึ้น
2) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ ๘๐ มีความเครียดลดลง
เงินบำรุง รพ.2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
1) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท
2) ค่าอาหารว่างญาติและคนพิการ ครั้งละ 12 คน
(12 คน x คนละ 20 บาท x 20 ครั้ง ) เป็นเงิน 4,800 บาท รวม 7,800 บาท
(เจ็ดพันแปดร้อยบาทถ้วน)
(ค่าใช้จ่ายสามารถเฉลี่ยจ่ายกันได้ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ)
7800เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3
ขวัญนิญานันท์ เชื้อชาติทองธกุล
กิจกรรมบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
10) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
11) ไม่มี
ไม่ทราบแหล่งการใช้งบประมาณว่าจะสามารถใช้งบประมาณจากแหล่งใดได้บ้าง
21
20/9/2020, 7:39:42น.ส.จินดารัตน์ นาคคุ้มPCT อายุรกรรม0849885920
พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
การเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยNCD เป็นปัญหาที่มีผลต่อการเกิดโรคร่วมที่มีอาการรุนแรงได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเสี่ยงในกสนเกิดโคหัวใจขาดเลือด หากมีอาการรุนแรงได้รับการช้วยเหลือไม่ทันท่วงทีอาจทำให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นนนอกจากการป้องกันความเสี่ยงในผู้ป่วยเหล่านี้แล้ว บุคลากรยังต้องมีความรู้และศักยภาพที่จะดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจให้ปลอดภัย ลดอัตราการเสียชีวิต และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอีกด้วย ผู้จัดทำเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น
่เพิ่มศักยภาพบุคลากรแพทย์และพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
ประชุมเชิงปฏิบัติการและการบรรยายจากวิทยากร
พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยจำนวน80คน
เงินบำรุง รพ.
1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(80คนx20บาทx1มื้อ)จำนวน 1,600 บาท
2.ค่าสมนาคุณวิทยากร(2ท่านx600x2ชั่วโมง)จำนวน 2,400บาท
4000เดือนที่ 2จินดารัตน์ นาคคุ้มPCT อายุรกรรม
อาจมีการแก้ไขเรื่องค่าใช้จ่ายและวันเวลาในการจัดโครงการภายหลัง
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
19) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ
11) ไม่มีไม่มี
22
21/9/2020, 11:36:52สุภาดา สนทิมงานผู้ป่วยนอก0882728852
โครงการตรวจวัดความหนาแน่นกระดูก( Bone Density) โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ปี 2564
โรคกระดูกพรุนนับเป็นโรคกระดูกเมตาบอลิก (Metabolic bone disease) ที่พบบ่อยที่สุด โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 50 ปี และพบว่าในปีหนึ่ง ๆ มีผู้สูงอายุนับล้านคนที่กระดูกสะโพกหักจากการหกล้มธรรมดา และอีกนับล้านคนมีกระดูกส่วนอื่นหัก ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ที่กระดูกหัก 1 ครั้งจากโรคกระดูกพรุนมักเกิดกระดูกหักซ้ำ
โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) เป็นภาวะที่ความหนาแน่นของมวลกระดูกต่ำ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อกระดูกหักมากขึ้น แม้เพียงได้รับการกระแทกเล็กน้อย โรคกระดูกพรุนจะไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า จนกว่าจะมีกระดูกหักครั้งแรกโดยเฉพาะในส่วนของกระดูกข้อมือ กระดูกสะโพก และกระดูกสันหลัง อาการแทรกซ้อนภายหลังจากกระดูกหัก เช่น การเกิดแผลกดทับ โรคทางระบบหายใจ กล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยเห็นความสำคัญของภาวะกระดูกพรุน จึงได้จัดโครงการตรวจวัดความหนาแน่นกระดูก (Bone Density) ให้กับหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงาน/บุคคลที่สนใจ
1. เพื่อคัดกรองบุคคลที่มีปัจจัยเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน
2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนได้รับการรักษาต่อเนื่อง
3. เพื่อเพิ่มรายได้ของโรงพยาบาล
การเตรียมการ
1.เสนอโครงการต่อผู้บริหารเพื่อขออนุมัติ
2.ติดต่อบริษัทเพื่อนำเครื่อง dual energy X-ray absorptiometry (DXA)มาให้บริการ
3. เตรียมความพร้อมของทีม และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การดำเนินการ
4. ประชาสัมพันธ์โครงการ ให้กับหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ และผู้สนใจตรวจวัดความหนาแน่นกระดูก (Bone Mineral Density)
5.จัดเตรียมสถานที่สำหรับการตรวจ
6.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดคิวตรวจครั้งละ20-50คน ลงทะเบียนการตรวจตามระบบของโรงพยาบาล
7.เจ้าหน้าที่การเงินจัดทำเรื่องเบิกค่าตรวจให้กับบริษัทโดยจ่ายเป็นงวดตามบิลที่เรียกเก็บ
8. สรุปผลการดำเนินงาน ผลการตรวจวัดความหนาแน่นกระดูก (Bone Mineral Density) จัดแนวทางการรักษารองรับกรณีผลผิดปกติโดยแพทย์และพยาบาลที่ออกตรวจ
การประเมินผลโครงการ
9. สรุปรายรับรายจ่าย และปัญหา/อุปสรรค
หมายเหตุ: จำนวนครั้งและจำนวนผู้ป่วยที่รับการตรวจอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมกับผู้รับบริการแต่ไม่เกินวงเงินที่กำหนด
ผู้รับบริการสิทธิ์เบิกได้ /จ่ายตรง/อปท /รัฐวิสาหกิจและผู้สนใจที่มีภาวะเสี่ยงโรคกระดูกพรุน จำนวน300 คน
เงินบำรุง รพ.1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม
ค่าจ้างตรวจมวลกระดูกรายละ1,450บาท×300ราย = 435,000 บาท
รวมเป็นเงิน 435,000 บาท ( สี่แสนสามหมื่นห้าพันบาทถ้วน )
ซึ่งสามารถเบิกจากกรมบัญชีกลางได้รายละ 2,900บาท กรณีเป็นสิทธิ์ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/อปท
435000สุภาดา สนทิมงานผู้ป่วยนอก
การเบิกจ่าย เบิกทุกสิ้นเดือนที่ให้บริการ
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
18) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก
11) ไม่มี
23
21/9/2020, 15:25:02อรัญชลี พุ่มเกตุจิตเวช055682030
การจัดการผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตราย
ผู้เสพ ผู้ติด ที่ยังไม่สามารถเลิกยาเสพติดได้ และกลุ่ม
ผู้เสพและผู้ติดรุนแรงจนทำให้เกิดอาการทางจิตประสาท ก้าวร้าวเป็นอันตรายต่อคนรอบข้าง และมีกระบวนการที่ซับซ้อนในการนำผู้เสพผู้ติดเข้ารับการรักษา ดังนั้น กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จึงได้วางแผนการจัดการผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตราย แบบมีส่วนร่วมขึ้นเพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยและให้ผู้เกี่ยวข้องมีแนวทางร่วมกันในการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย และส่งต่อให้ได้รับการดูแลที่ต่อเนื่องจนผู้ป่วยมีอาการทางจิตสงบแล้ว สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างปกติสุข
1. เพื่อให้ผู้ที่ประสบปัญหาการใช้สารเสพติดที่มีอาการทางจิตประสาทได้เข้ารับการรักษา
2. เพื่อสร้างแนวทางในการดูแลจัดการผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตราย
การจัดอบรม1.ยุทธวิธีการเจรจาต่อรองผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตราย
2.ยุทธวิธีการจับกุมของตำรวจสำหรับผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตราย
3.ระดมสมองแลกเปลี่ยนเรียนรู้การช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหา
สุขภาพจิตและจิตเวชที่เกิดจากสารเสพติดในระดับภาคีเครือข่าย
4.นำเสนอปัญหาและอุปสรรคและจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชจากการใช้สารเสพติดในระดับตำบล, อำเภอ
เจ้าหน้าที่ศุนย์เปลและรปภ.ในโรงพยาบาล จำนวน 23 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร, 1.14 ค่าเช่าที่พัก, 1.15 ค่ายานพาหนะ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรมและผู้จัด 2 มื้อๆละ 20 บาท x 30 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
2.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรมและผู้จัด 1 มื้อๆละ 50 บาท x 30 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
3.ค่าวิทยากร 5 ชม.X600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
4.ค่าจัดทำป้ายโครงการ เป็นเงิน 600 บาท
5.วัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 1,000 บาท
6. ค่าที่พัก วิทยากร 2 คน x 1 คืน ๆละ 1,450 บาท เป็นเงิน 1,450 บาท
5.ค่าพาหนะ ค่าน้ำมัน 80กมๆละ 4 บาทx 2เที่ยว (ไป-กลับ) เป็นเงิน 640 บาท

8190เดือนที่ 3อรัญชลี พุ่มเกตุจิตเวชและยาเสพติด
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
24) โครงการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด
11) ไม่มี
24
21/9/2020, 15:38:50ภัคศินีพิชญ์ กุลทัตพงษ์
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ
1319
รับการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานด้านสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2564
เครือข่ายบริการสุขภาพมีการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมต่อเนื่อง ผสมผสาน และสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอย่างสมดุล ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินงานบริการในทุกด้านของหน่วยงานในการดูแลประชากร โดยบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ กระบวนการดำเนินงานต้องคำนึงถึงมิติทางด้านจิตใจ สังคม และสภาพแวดล้อมของประชาชน ดังนั้น เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จึงได้จัดทำโครงการรับนิเทศ ติดตาม ควบคุม และกำกับงาน โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
เพื่อรับการนิเทศงาน ควบคุม กำกับการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่ได้ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และระบบงาน และให้ผู้บริหารทราบถึงข้อบกพร่อง ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน
1. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน
2. นำเสนอผลการดำเนินงาน
3. ชี้แจง และสรุปผลการดำเนินงาน
เจ้าหน้าที่เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย จำนวน 120 คน
เงินบำรุง รพ.1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (120 คน x 25 บาท x 1 มื้อ) = 3,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน (120 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) = 6,000 บาท
9000เดือนที่ 2นางนุชรา แควน้อย
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ
ระยะเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจาก สสจ.สุโขทัย เป็นผู้กำหนดระยะเวลา
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
31) โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ
11) ไม่มี
25
21/9/2020, 16:10:40ภัคศินีพิชญ์ กุลทัตพงษ์
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ
1319
รับการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานด้านสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2564
เครือข่ายบริการสุขภาพต้องให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมต่อเนื่อง ผสมผสาน และสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอย่างสมดุล ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินงานบริการในทุกด้านของหน่วยงานในการดูแลประชากรแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม โดยบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ กระบวนการดำเนินงานต้องคำนึงถึงมิติทางด้านจิตใจ สังคม และสภาพแวดล้อมของประชาชนด้วย
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จึงได้จัดทำโครงการรับนิเทศ ติดตาม ควบคุม และกำกับงาน โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
เพื่อรับการนิเทศงาน ควบคุม กำกับการปฏิบัติงาน ให้เจ้าหน้าที่ได้ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และระบบงาน และให้ผู้บริหารทราบถึงข้อบกพร่อง ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน
1. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน
2. นำเสนอผลการดำเนินงาน
3. ชี้แจง และสรุปผลการดำเนินงาน
เจ้าหน้าที่เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จำนวน 120 คน
เงินบำรุง รพ.1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (120 คน x 25 บาท x 1 มื้อ) = 3,000 บาท
2. ค่าอาหาร (120 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) = 6,000 บาท
9000เดือนที่ 3นางนุชรา แควน้อย
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
31) โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ
11) ไม่มี
26
23/9/2020, 22:10:24นายกิจจา อ่วมแก้วเคมีบำบัด0882733478
พัฒนาระบบบริการสุขภาพโรคมะเร็ง
พัฒนาระบบบริการโรคมะเร็งด้านต่างๆ ส่งเสริม ป้องกัน คัดกรอง รักษาพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง
ประชุม,รณรงค์ให้ความรู้,ออกเยี่ยมคัดกรองโรคมะเร็ง
ประชากรกลุ่มเป้าหมายงบประมาณแผ่นดิน (สป.สธ.)
1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ค่าประชุม 20 คน x 25 บาท x 1 มื้อ x 3 ครั้ง=1,500 บาท
ค่าจัดทำแผ่นพับ 140 ชุด ชุดละ 5 บาท = 700
ค่าทำไวนิล 28 แผ่น แผ่นละ 200 =5,600
2.1 ค่าตอบแทนค่าเบี้ยเลี้ยงออกคัดกรอง
120 บาท x 5 คน x 4ครั้ง = 2400 บาท
ค่าเบี้ยเลี้ยงคัดกรอง
120 บาท x 10 คน x 1 ครั้ง
= 1200
11400เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3กิจจา อ่วมแก้วเคมีบำบัด
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
20) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง
11) ไม่มี
27
23/9/2020, 22:25:47รุจีพร เพ็ญศรีER0899579541โครงการซ้อมแผนรองรับสถานการณ์อุบัติเหตุหมู่และสาธารณภัยอุบัติเหตุหมู่และสาธารณภัย โดยเฉพาะอุบัติเหตุจราจร เป็นสถานการณ์ที่ร้ายแรงที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหัน ซึ่งมีผู้บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเกินอัตรากำลังของเจ้าหน้าที่ปกติ โดยมีการปรับเปลี่ยนสภาวะการปฏิบัติงานปกติให้สามารถรับสถานการณ์อุบัติเหตุได้อย่างรวดเร็ว เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น ในการขอความช่วยเหลือและส่งต่อการรักษา
1. เพื่อช่วยชีวิตผู้บาดเจ็บ โดยลดอัตราตายและพิการของผู้ประสบภัย ให้มากที่สุด
2. จัดรูปแบบการรักษาพยาบาล ผู้บาดเจ็บที่มีจำนวนมากในคราวเดียวกัน จากอุบัติเหตุหมู่และสาธารณภัยให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. ให้แพทย์ พยาบาล และบุคลากรผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ รับรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง มีทักษะและความคล่องตัวในการปฏิบัติงานเมื่อเกิดสถานการณ์อุบัติเหตุหมู่และสาธารณภัยขึ้น
4. ทุกหน่วยงานมีความพร้อม เตรียมสถานที่ บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์และเวชภัณฑ์ในการช่วยเหลือรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บจำนวนมาก ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
5. พัฒนาเครือข่ายระหว่าง โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนในเขตรับผิดชอบ โรงพยาบาลศูนย์ และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องรวมถึงหน่วยกู้ชีพต่างๆของจังหวัดสุโขทัย ให้สามารถประสานงานและสนับสนุน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
6. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถ ของการรักษาพยาบาลผู้บาดเจ็บ ในสถานการณ์อุบัติเหตุหมู่ และสาธารณภัยของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย

1. ขั้นเตรียมการ
1.1. เสนอโครงการแก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
1.2. แต่งตั้งคณะกรรมการ 3 ชุด คือ คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินการ
และคณะกรรมการประเมินผล เสนอแก่นายอำเภอศรีสำโรง
1.3 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.4 ประชุมชี้แจง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
1.5 ประชุมชี้แจงหัวหน้าหรือตัวแทนของหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.6. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเวชภัณฑ์
1.7. เตรียมสถานที่
1.8 เตรียมความพร้อมระบบสื่อสารและเครือข่ายศูนย์รับแจ้งข่าวและสั่งการ
1.9 ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
2. ขั้นดำเนินการ
กำหนดสถานการณ์ จำลอง ดำเนินการฝึกซ้อม Table Top Exercise
3.ประเมินผล
เจ้าหน้าที่ทุกระดับของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตอำเภอศรีสำโรงและเครือข่ายในจังหวัดสุโขทัย รวม 150 คน
สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสุโขทัย (สปส.สท.)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร
1. ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ
1.1. ค่าอาหารกลางวัน = 150 คน X 80 บาท X 1 มื้อ 12,000 บาท
1.2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม = 150 คน X 20 บาท X 2 มื้อ 6,000 บาท


2.1 ค่าตอบแทน, 2.3 ค่าวัสดุ
2. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องเขียน 10,000 บาท
4. ค่าวิทยากร ( 600 X3 ชั่วโมง)+( 600 X3 ชั่วโมงX3คน) 7,200 บาท
35200เดือนที่ 2รุจีพร เพ็ญศรีกลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
อาจมีการเปลี่ยนแปลง ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
4) โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ
2) อาเซียนER
28
23/9/2020, 22:42:38รุจีพร เพ็ญศรีER0899579541
โโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพเป็นการรักษาพยาบาลที่มีความสำคัญมาก ในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจอย่างเร่งด่วน ในกรณีที่มีการหยุดหายใจนานเกิน ๔ นาทีร่วมกับหัวใจหยุดเต้นจะทำให้เนื้อเยื่อของร่างกาย โดยเฉพาะสมองได้รับเลือดและออกซิเจนไม่เพียงพอเกิดการเสื่อมหน้าที่หรือถูกทำลาย จนไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติ หรือทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ดังนั้นพยาบาลและบุคลากรในทีมสุขภาพต้อง มีการพัฒนาทั้งในด้านความรู้ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑. เพื่อพัฒนาทักษะ การช่วยฟื้นคืนชีพ แก่บุคลากรทางการพยาบาล หน่วยงานสนับสนุน
ของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในเครือข่ายอำเภอศรีสำโรงให้มีความสามารถปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความเชื่อมั่น
๒. เพื่อลดอัตราการตายและความพิการทางสมอง ทำให้ผู้ป่วยฟื้นกลับสู่สภาพปกติได้
อย่างปลอดภัย
๑. ขั้นเตรียมการ
๑.๑ จัดทำและขออนุมัติโครงการ
๑.๒ ประชุมคณะกรรมการมอบหมายงาน
๑.๓ เตรียมความพร้อมของบุคลากร อาคาร สถานที่
๑.๔ กำหนดแนวทางและเนื้อหาวิชาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
๑.๕ จัดเตรียมเอกสาร อุปกรณ์ และโสตทัศนูปกรณ์
๑.๖ ดำเนินการอบรม ครู ก. จำนวน ๒๐ คน
๒. ขั้นดำเนินการ
ด้านทฤษฎี ดำเนินการเสริมความรู้ โดยการบรรยาย อภิปราย และชมวิดีโอเทป
การช่วยฟื้นคืนชีพ
ด้านปฏิบัติ โดยการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติกับหุ่นจำลองมี ครู ก. เป็นผู้แนะนำ
๓. เนื้อหาวิชาภาคทฤษฎี
รุ่นที่ ๑, ๒
๑ Basic CPR ๒๐๑๕
๒ การประเมินสภาพผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจ
๓ การพยาบาลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ
๔ การเตรียมอุปกรณ์และการช่วยแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจ
รุ่นที่ ๓, ๔
๑. การช่วยฟื้นคืนชีพและการช่วยเหลือในทีมสุขภาพ
๒. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ถูกวิธี
ภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ การช่วยฟื้นคืนชีพ
บุคลากรทางการพยาบาล หน่วยงานสนับสนุนของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและเจ้าหน้าที
สาธารณสุขในเครือข่ายอำเภอศรีสำโรง จำนวน 850 คน
สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสุโขทัย (สปส.สท.)
1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8517 คน x 20 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 17,000 บาท
17000เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3รุจีพร เพ็ญศรีกลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
อาจเปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
3) โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ (พชอ.)
11) ไม่มี
29
23/9/2020, 23:25:28รุจีพร เพ็ญศรีER0899579541
พัฒนาเครือข่ายการเเพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
ปัจจุบันสภาวะการณ์เจ็บป่วยฉุกเฉิน ที่เกิดขึ้นในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งจากอุบัติเหตุและเจ็บป่วยฉุกเฉิน ที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุอย่างทันท่วงที เพื่อนำส่งสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐานโดยเร็ว
ผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุอย่างทันท่วงที เพื่อนำส่งสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐาน ปลอดภัย
ประชุมวิชาการ และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
120 คนงบประมาณแผ่นดิน (สป.สธ.)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (120 คน x 20 บาท x 2 มื้อ) จำนวน 4,800 บาท 2.ค่าอาหาร (ค่าอาหารกลางวัน 120 คน x 80 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 9,600 บาท
2.1 ค่าตอบแทน, 2.3 ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 3,600 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร (600X 6) 3,600 บาท
21600เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3รุจีพร เพ็ญศรีกลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
อาจเปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
9) โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และ อสม.
11) ไม่มีER
30
23/9/2020, 23:43:57รุจีพร เพ็ญศรีER0899579541
พํฒนาECS คุณภาพระดับจังหวัดสุโขทัย
ECS (Emergency Care System) คือ ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน หมายถึง
ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกัน
ภาวะทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งในภาวะปกติและภาวะภัยสุขภาพด้านต่างๆ ประกอบด้วย
การป้องกันก่อนเกิด (prevention), การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (pre hospital care) ต่อเนื่องถึง
การดูแล ณ ห้องฉุกเฉิน (ER) การดูแลรักษาในโรงพยาบาล (In hospital care) การดูแลเฉพาะทาง (Definitive Care) การส่งต่อ (Inter hospital care/ Referral System) รวมถึง การจัดระบบบริบาลกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ (Mass Casualties Incident) และการเตรียมแผนรองรับภัยพิบัติ ของสถานพยาบาล/โรงพยาบาล (Disaster preparedness & hospital
preparedness for Emergency) การเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินหมู่
พัฒนาระบบECS คุณภาพระดับจังหวัดสุโขทัย
นิเทศตรวจเยี่ยมโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาอุบัติเหตุ
9 โรงพยาบาลอื่น ๆไม่มี00เดือนที่ 2, เดือนที่ 3รุจีพร เพ็ญศรีกลุ่มงานเวชสาสตร์ฉุกเฉิน
ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ สามารถเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
13) โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชนer
31
23/9/2020, 23:56:12รุจีพร เพ็ญศรีER1123การพัฒนาRTIอุบัติเหตุทางถนนมีการบาดเจ็บและเสียชีวิตมากขึ้นเป็นลำดับแรกๆของจังหวัดสุโขทัย
เพื่อลดอัตราการบาดเจ็บและอัตราการตายของRTI
การรณรงค์การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
ลดอัตราการบาดเจ็บและอัตราการตายของRTIเปรียบเทียบในระยะเวลาเดียวกันอย่างน้อย5%
งบประมาณแผ่นดิน (สป.สธ.)1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์
ค่าวัสดุ (ค่าป้ายไวนิล ป้ายละ 400 บาท 12 ป้าย) จำนวน 4800 บาท
4800เดือนที่ 3เดือนที่ 1รุจีพร เพ็ญศรีกลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
ระยะเวลาในการดำเนินงาน/การใช้งบประมาณเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
3) โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ (พชอ.)
2) อาเซียนER
32
25/9/2020, 14:34:06ภาวนา รีเรียงสามัญทั่วไป0947139559
เสริมสร้างศักยภาพการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน
สังคมไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาที่ต้องเผชิญคือความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ผู้สูงอายุที่หกล้มอาจเกิดการบาดเจ็บตั้งแต่เล็กน้อยถึงรุนแรง ที่พบบ่อยได้แก่กระดูกสะโพกหัก บาดเจ็บศรีษะระดับรุนแรง ครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุที่หกล้มต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล ค่ารักษาและค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นรวมถึงเสียชีวิตและทุพลภาพ
ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการพลัตกหกล้ม
มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในและนอกบ้านและเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ตรวจประเมินสมรรถนะทางกายและความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การตรวจประเมินสิ่งแวดล้อมในและนอกบ้าน
การพลัดตกหกล้มในกลุ่มเป้าหมายน้อยกว่าร้อยละ 10
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
7,550 บาท0 บาท7550เดือนที่ 1
นายแพทย์วารินทร์ พฤกษิกานนท์
PCT ortho-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ11) ไม่มี
33
25/9/2020, 15:25:00
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
แพทย์แผนไทยชำนาญการ21122113
วันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ปีงบประมาณ2564
ด้วยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้กำหนดให้มีการจัดงานวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ และพระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย เพื่อคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในวันที่ 29 ตุลาคมของทุกปี งานการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลหลายแห่งที่มีศักยภาพ สามารถดำเนินการจัดงานดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยนโยบายปีนี้จะเน้น “ประชาชนทั่วไป ผู้สูงวัย การใช้ยาสมุนไพรอย่างปลอดภัย การบริโภคอาหารอย่างปลอดภัย และส่งเสริมสุขภาพ” แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในบทบาทของวิชาชีพแพทย์แผนไทย ทั้งในด้านการบริการการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยได้แก่การนวดรักษา การรักษาด้วยการพอกเข่า การใช้ยาสมุนไพรอย่างถูกต้องเหมาะสม การเผยแพร่ความรู้ให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนที่มารับบริการในโรงพยาบาล
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กลุ่มภารกิจปฐมภูมิ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงจัดให้มีกิจกรรมงานวันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ และพระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทยเพื่อคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยขึ้นในปีนี้ เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ ความเข้าใจด้านการแพทย์แผนไทยอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งเป็นบทบาทของแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลที่สำคัญ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยของงานการแพทย์แผนไทยต่อไป
2.1เพื่อประชาสัมพันธ์บทบาทของงานการแพทย์แผนไทยให้เป็นที่รู้จักแก่ประชาชนที่มารับบริการ
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนที่มารับบริการในโรงพยาบาลเกิดความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
2.3 เพื่อสร้างความตระหนักและส่งเสริมประชาชนให้ใช้สมุนไพรเพิ่มขึ้น
4.1 ให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การให้ความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพร ความปลอดภัยในการใช้
พืชสมุนไพร และยาสมุนไพรอย่างถูกต้องแก่ประชาชนที่มารับบริการในโรงพยาบาล
4.2 จัดแสดงบอร์ดเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย
4.3 ให้บริการน้ำดื่มสมุนไพร สมุนไพรในลูกประคบและสมุนไพรพื้นบ้าน
4.4 แจกยาสมุนไพรตัวอย่าง
4.5 ให้คำปรึกษา และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ แก่ประชาชนที่มารับบริการ
ผู้ป่วย บุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาล และประชาชนที่มารับบริการ จำนวน 50 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม
งบเงินบำรุงโรงพยาบาล ปีงบประมาณ ๒๕63
• ค่าวัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดงาน
- ค่าไวนิล 500 บาท
• ค่าวัสดุ อุปกรณ์ทำน้ำสมุนไพรและยาดมสมุนไพร
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ทำน้ำสมุนไพร และเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ 1,000 บาท
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ทำยาดมสมุนไพร 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 2,5๐๐ บาท
(สองพันห้าร้อยบาทถ้วน)
หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายในแต่ละรายการสามารถถัวจ่ายกันได้
2.3 ค่าวัสดุ, 2.4 ค่าสาธารณูปโภค2500เดือนที่ 1
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
16) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
11) ไม่มี
34
29/9/2020, 9:47:35อลิษา มูลวงค์ทันตกรรม0947106783
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ครูและผู้ปกครองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียนอายุ 6-12 ปี ในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ประจำปี 2564
จากการสำรวจปัญหาทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่ามีปัญหาโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ โดยปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อสภาวะโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ คือ พฤติกรรมการแปรงฟัน และพฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
เพื่อแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพ ลดปัญหาโรคฟันผุ รวมถึงโรคเหงือกอักเสบของเด็กวัยเรียน
ให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการดูแลและส่งเสริมสุขภาพช่องปากแก่ครูและ
ผู้ปกครอง
เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ครูและผู้ปกครองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์
1.ค่าวัสดุ (กระดาษ 1 รีม ) จำนวน 175 บาท 2.ค่าปากกาเมจิก 15 ด้าม x 15 บาท) จำนวน 225 บาท 3.ค่าถ่ายเอกสาร 100 บาท
500เดือนที่ 1อลิษา มูลวงค์ทันตกรรม-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
2) โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร
11) ไม่มี-
35
29/9/2020, 9:47:44อลิษา มูลวงค์ทันตกรรม0947106783
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ครูและผู้ปกครองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียนอายุ 6-12 ปี ในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ประจำปี 2564
จากการสำรวจปัญหาทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่ามีปัญหาโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ โดยปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อสภาวะโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ คือ พฤติกรรมการแปรงฟัน และพฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
เพื่อแก้ไขปัญหาทางทันตสุขภาพ ลดปัญหาโรคฟันผุ รวมถึงโรคเหงือกอักเสบของเด็กวัยเรียน
ให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการดูแลและส่งเสริมสุขภาพช่องปากแก่ครูและ
ผู้ปกครอง
เพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ครูและผู้ปกครองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพของเด็กวัยเรียน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์
1.ค่าวัสดุ (กระดาษ 1 รีม ) จำนวน 175 บาท 2.ค่าปากกาเมจิก 15 ด้าม x 15 บาท) จำนวน 225 บาท 3.ค่าถ่ายเอกสาร 100 บาท
500เดือนที่ 1อลิษา มูลวงค์ทันตกรรม-
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
2) โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร
11) ไม่มี-
36
29/9/2020, 21:49:17ศิริภัสสร์ โกศัยศัลยกรรมหญิง0966396536
พัฒนาศักยภาพการดูแลแผลโรคหนังเน่า
ในจังหวัดสุโขทัยพบผู้ป่วยเป็นโรคหนังเน่าปี 2562 จำนวน 112 ราย มีอัตรา major amputation 5.97 % มีอัตราตายสูงถึง 9.23 %
1. เ่พื่อให้ผุ้เข้ารับการอบรมได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจและทักษะการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย
2. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาแนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคหนังเน่า
บรรยายให้ความรู้เรื่องโรคหนังเน่า พยาธิสภาพโรค การวินิจฉัย การดุแลรักษา จัดกิจกรรมเสริมทักษะ เทคนิคการทำแผลและการจัดการแผล
บุคลากรทางการแพทย์ผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมจำนวน 100 คน
สำนักงานประกันสังคมจังหวัดสุโขทัย (สปส.สท.)
1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร, 1.14 ค่าเช่าที่พัก, 1.15 ค่ายานพาหนะ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (100 คน x 20 บาท x 2 มื้อ) จำนวน 4,000 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน (100 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 5,000 บาท
3.ค่าสมนาคุณวิทยากร 7 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน4200 บาท
4.ค่ายานพาหนะเชียงใหม่ถึงโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย 300x4 จำนวน1200 บาท
ค่ายานพาหนะโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยถึงเชียงใหม่ 300x4 จำนวน1200 บาท
5.ค่าเช่าที่พัก 1 คืนๆละ 1400 บาท
15600เดือนที่ 2ศิริภัสสร์ โกศัยPCT ศัลยกรรม
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
18) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก
11) ไม่มี
37
30/9/2020, 15:48:45
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2113
โครงการศึกษาและอบรมการใช้มณีเวชในการปรับสมดุลร่างกายในบุคลากรทางการแพทย์
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล ศรีสังวรสุโขทัย ได้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงจัดให้มีการอบรมมณีเวชกับการปรับสมดุลร่างกายขึ้นในปีนี้ เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ ความเข้าใจการใช้มณีเวชมาปรับโครงสร้างร่างกายให้กับผู้ป่วย มารดาใกล้คลอด มารดาหลังคลอดและทารกที่คลอดมาแล้วมีโครงสร้างที่ผิดปกติ เป็นประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วยของบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งเป็นสาระความรู้ที่สำคัญต่อไป
2.1 เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ของสาธารณสุขฝึกการใช้มณีเวชในการปรับโครงสร้าง
ผู้ป่วยให้เกิดความสมดุลในร่างกาย
2.2 เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ของสาธารณสุขเกิดความเข้าใจในการดูแลสุขภาพการ
ใช้มณีเวชในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยแผนกสูติกรรม แผนกกุมารเวชกรรม กลุ่มงานการแพทย์แผนไทย
2.3 เพื่อรณรงค์ และประชาสัมพันธ์การดูแลสุขภาพโดยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยมณีเวช
2.4 เพื่อสร้างความตระหนัก และส่งเสริมประชาชนให้ดูแลสุขภาพดีมากขึ้น โดยพึ่งธรรมชาติเข้ามาดูแลสุขภาพ
4.1 เสนอแนวคิดต่อสำนักบริหารยุทธศาสตร์โรงพยาบาล
4.2 เขียนโครงการ เสนอโครงการให้กับผู้อำนวยการโรงพยาบาลเพื่อขอรับงบประมาณเงินบำรุง
โรงพยาบาล
4.3 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนงาน และชี้แจงรายละเอียดโครงการ
4.4 ทำกำหนดการประชุม เชิญวิทยากรจากภายนอก
4.5 สำรวจเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล และบุคลากรกระทรวงสาธารณสุขที่อยู่ในเขตอำเภอศรีสำโรง และในจังหวัดสุโขทัย
4.6 เชิญวิทยากรจากนอกโรงพยาบาล โดยนายแพทย์นภดล นิงสานนท์ เป็นต้นแบบของการฝึก มณีเวชในการดูแลผู้ป่วยลดการบาดเจ็บ ปรับสมดุลให้ร่างกาย
4.7 คณะทำงานสรุปผลโครงการฯ รายงานให้ผู้บังคับบัญชา
บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ของสาธารณสุข จำนวน 50 คน
เงินบำรุง รพ.
1.1 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม, 1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.4 ค่าประกาศนียบัตร, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร, 1.14 ค่าเช่าที่พัก, 1.15 ค่ายานพาหนะ
2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ, 2.4 ค่าสาธารณูปโภค
• ค่าวัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดงาน
- ค่าไวนิล 1,500 บาท
• ค่าสัมนาคุณวิทยากร 2 วันชั่วโมงละ 1,200 บาท X2 วัน X 6 ชั่วโมง 14,400 บาท
• ค่าสัมนาคุณผู้ช่วยวิทยากร 2 วันชั่วโมงละ 600 บาท X2 วัน X 6 ชั่วโมง 7,200 บาท
• ค่าที่พัก 2 คืน x 1500 บาท 3,000 บาท
• ค่ายานพาหนะไปและกลับ 3000 บาท x 2 เที่ยว 6,000 บาท
• ค่าวัสดุในการตกแต่งสถานที่จัดประชุม 1,600 บาท
• ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ 50 ชุด x 20 บาท 1,000 บาท
• ค่าประกาศนียบัตร 50 แผ่น x 60 บาท 3,000 บาท
• ค่าอาหารกลางวัน 50 ชุด x 80 บาท 4,000 บาท
• ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 ชุด x 30 บาท 1,500 บาท
รวมเป็นเงิน 43,200 บาท
43200เดือนที่ 3
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
16) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
11) ไม่มี
38
30/9/2020, 16:32:30
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2113
โครงการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยสู่ชุมชน
งานการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย จึงได้จัดโครงการการพัฒนาระบบบริการด้านแพทย์แผนไทยสานสายใยสู่ชุมชนขึ้น เพื่อรณรงค์และกระตุ้นให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญและคุณค่าของการแพทย์- แผนไทย สามารถเข้าถึงการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยได้มากขึ้น เช่น การให้คำแนะนำ และคำปรึกษาในการดูแลสุขภาพตามวิธีทางการแพทย์แผนไทย การให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค การบำบัดรักษาโรคด้วย ยาสมุนไพร การนวดไทย การประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การดูแลมารดาหลังคลอด บริการตรวจ ธาตุเจ้าเรือน และแนะนำการรับประทานอาหารตามธาตุเพื่อปรับสมดุลของร่างกาย รวมทั้งการแนะนำการใช้สมุนไพรใกล้ตัว เป็นต้น ส่งผลให้การแพทย์แผนไทยได้รับการยอมรับและมีผู้มารับบริการที่เพิ่มขึ้น
1. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยแก่ชุมชนให้เป็นที่ยอมรับ สร้างความเชื่อมั่นในการดูแลสุขภาพ
ด้านการแพทย์แผนไทย
2. เพื่อให้บริการด้านแพทย์แผนไทยโดยการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชน
3. เพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยในชุมชน ประชาชนสามารถเข้าถึงการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยได้อย่างทั่วถึง
4. เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในรูปแบบเครือข่ายของบุคลากรสาธารณสุขในชุมชน
5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
1. คัดเลือกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 13 แห่ง ที่มีความพร้อมด้านสถานที่ บุคลากร สิ่งอำนวยความสะดวกและประชาชนอยู่ห่างไกลสถานบริการดำเนินงานให้บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 13 แห่ง เดือนละ 1 ครั้ง โดยหมุนเวียนไปที่เดือนละครั้ง เริ่มดำเนินการเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบัน และกำหนดการลงข้อมูลโปรแกรมการรักษา เพื่อเพิ่มการให้บริการและกระจายผู้ป่วยในชุมชน เป็นการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยเคลื่อนที่โดยมีตารางการให้บริการดังเอกสารแนบ
2. การบริการตรวจวินิจฉัยโรค จ่ายยาสมุนไพร และแนะนำสมุนไพรที่เหมาะสมสำหรับโรคหรืออาการ การรักษาด้วยการนวด ประคบสมุนไพร และอบสมุนไพร ตามความเหมาะสม กับผู้มารับบริการและประชาชน
3. สาธิตและฝึกปฏิบัติการทำฤๅษีดัดตนและการบริหารกล้ามเนื้อโดยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และให้ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนผู้มารับบริการ
4. การบริการตรวจธาตุเจ้าเรือนและแนะนำอาหารประจำธาตุเจ้าเรือน เพื่อช่วยส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น
ผู้มารับบริการ 10-15 รายต่อวันทั้งหมด 13 แห่ง 13 รพ.สต.
เงินบำรุง รพ.1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์
1. ค่าวัสดุอุปกรณ์ ( ลูกประคบ) 13 แห่ง แห่งละ 900 บาท เป็นเงิน 11,700 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,700 บาท
(หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)
2.3 ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุอุปกรณ์ ( ลูกประคบ) 13 แห่ง แห่งละ 900 บาท เป็นเงิน 11,700 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 11,700 บาท
(หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)
11700เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสาวอรศิมา ภักดี
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
16) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
11) ไม่มี
39
30/9/2020, 18:16:15นางธารินี สุรเชาว์ตระกูล
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง
0810401524
อบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของหน่วยบริการด้วยโปรแกรม JHCIS เครือข่ายสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ได้พัฒนาโปรแกรมระบบงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและศูนย์สุขภาชุมชน (Java Health Center Information System : JHCIS) หรือระบบบริการปฐมภูมิ เพื่อเป็นทางเลือกให้สถานบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ (Primary Care Unit : PCU) นำไปใช้บริหารจัดการข้อมูลการให้บริการด้านสาธารณสุข เพื่อช่วยลดภาระในการจัดเก็บ รวบรวม และการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ
นับตั้งแต่โปรแกรม JHCIS เริ่มพัฒนาขึ้นเมื่อราวปี 2540 และพัฒนามาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้โปรแกรมสามารถตอบสนองความต้องการในการใช้งานข้อมูลได้อย่างครอบคลุมงานบริการด้านสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ ทันเวลา และนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง
เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของหน่วยบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ
อบรม โปรแกรม JHCIS (บรรยาย และ ฝึกปฏิบัติ)
เจ้าหน้าที่เครือข่ายสุขภาพอำเภอศรีสำโรง จำนวน 40 คน
งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework: QOF)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร, 1.14 ค่าเช่าที่พัก, 1.15 ค่ายานพาหนะ
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (40 คน x 20 บาท x 10 มื้อ) เป็นเงิน 8,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน (40 คน x 50 บาท x 5 มื้อ) เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าสมนาคุณวิทยากร (5 วัน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท) เป็นเงิน 18,000 บาท
4. ค่าเช่าที่พัก (5 คืน x 1,400 บาท) เป็นเงิน 7,000 บาท
5. ค่ายานพาหนะ จำนวน 4,200 บาท
6. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 2,800 บาท
50000เดือนที่ 3เดือนที่ 1นางธารินี สุรเชาว์ตระกูล
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง
4) ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
36) โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ
11) ไม่มี
40
1/10/2020, 9:06:58พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
แกนนำเบาหวาน คลินิกหมอครอบครัวคลองตาล อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งหากดูแลไม่ดีจะนำสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนด้วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ตาบอดจากเบาหวาน และภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวและยังก่อให้เกิดความสูญเสียทางด้านสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม การจัดการโรคเรื้อรัง จะประสบความสำเร็จได้ต้องมีการดำเนินการที่เกี่ยวข้องอย่างหลากหลายและครอบคลุม ประกอบด้วย มาตรการด้านนโยบายและสิ่งแวดล้อม มาตรการด้านการสร้างเสริมความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยชุมชน เพื่อช่วยกันควบคุมป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง
2.เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลช่วยเหลือกันในกลุ่มผู้ป่วย
3. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน
1.คณะกรรมการประชุมชี้แจงกำหนดแนวทางการดำเนินงานและกำหนดผู้บริหารจัดการ
โครงการ พร้อมจัดทำโครงการเสนอผู้บริหาร
2.ประชุมคณะทำงานทีมรพ.สต./ทีมสหสาขาและทีมเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเพื่อสร้างความเข้าใจ
หลักการและวัตถุประสงค์การจัดทำโครงการ
3.ประสานงานกับสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 5 แห่ง ในคลินิก
หมอครอบครัวคลองตาล เพื่อสร้างความเข้าใจหลักการและวัตถุประสงค์การจัดทำโครงการ
4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดย
4.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน เรื่อง 3 อ 2 ส การดูแลเท้าและ
การ ใช้ยา
4.2 จัดกลุ่มสาธิตและฝึกปฏิบัติ
5.ผู้เข้าอบรมดูแลผู้ป่วยที่คุมระดับน้ำตาลไม่ได้ 2-3 คน
6. ติดตามผลและรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล ที่ รพ.สต.5 แห่ง จำนวน 5 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง
อสม.ที่เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถดูแลตนเองได้ดีและมีจิตใจอยากช่วยดูแลผู้อื่น จำนวน 30 คน ( รพ.สต.ละ 6 คน )
อื่น ๆ
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 คน x 25 บาท x 7 มื้อ) จำนวน 5,250 บาท
2.ค่าอาหาร (ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 50 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 1,500 บาท
3.ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ (สมุด 30 เล่ม x 10 บาท) จำนวน 300 บาท
4.ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ (ปากกา 30 แท่ง x 5 บาท) จำนวน 150 บาท
5.ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ( แฟ้มใส่เอกสารแบบซองใสมี
กระดุมติด 30 บาท x 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท )
6.ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ ( แบบ Pre-Post Test ,แบบประเมินความรู้ แบบ
ประเมินความพึงพอใจ,แบบติดตามภาวะสุขภาพ เป็นเงิน 1,000 บาท
8500เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3อรัญญา จุ้ยคลังเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี**ใช้กองทุนโรคเรื้อรัง
41
1/10/2020, 9:10:42พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166สุขภาพดีวิถีเวชกรรม
วัยทำงานเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เป็นวัยที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศอีกทั้งยังเป็นวัยที่จะต้องเลี้ยงดูครอบครัว ดังนั้น วัยทำงานจึงมีความจำเป็นอย่างมากต่อการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย พบเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การปฏิบัติงานด้านการเฝ้าระวังการเกิดโรคต่าง ๆ ในชุมชนและในอำเภอศรีสำโรง แต่ยังพบว่ามีผู้ปฏิบัติงานที่รอบเอวเกิน 80 เซนติเมตรร้อยละ 46.15 มีค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐานที่ร้อยละ 61.53 ส่งผลต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อีกทั้งการปฏิบัติงานที่ไม่ได้มีการเคลื่อนไหวมากนัก ดังนั้น เพื่อให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เป็นผู้นำสุขภาพที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับประชาชนในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัยได้ กลุ่มงานเวชกรรมสังคมจึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีวีถีเวชกรรมสังคม เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ ตามมาและเพื่อการมีสุขภาพที่แข็งแรงสามารถปฏิบัติงานและดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขต่อไป
1. เพื่อลดค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวของกลุ่มเป้าหมายที่มีค่ามากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดภาวะอ้วนของกลุ่มเป้าหมาย
1. สำรวจข้อมูลค่าดัชนีมวลกาย ค่ารอบเอว และโรคประจำตัวของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงพฤตกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่มีผลต่อสุขภาพ
4. ติดตามผลการจัดกิจกรรมรายสัปดาห์และรายเดือน
5. ประเมินผลหลังจบกิจกรรม
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
อื่น ๆ0เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคมไม่ใช้งบประมาณ
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
42
1/10/2020, 10:24:45พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166ลดพุง ลดโรค เพิ่มสุขภาพดี
วัยทำงานเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เป็นวัยที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศอีกทั้งยังเป็นวัยที่จะต้องเลี้ยงดูครอบครัว ดังนั้น วัยทำงานจึงมีความจำเป็นอย่างมากต่อการดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ แต่ในปัจจุบันยังพบว่าวัยทำงานมีปัญหาทางสุขภาพอยู่มาก โดยปัญหาหนึ่งนั่นก็คือ ภาวะโภชนาการที่มากเกินเกณฑ์มาตรฐานส่งผลต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อีกทั้งยังมีพฤติกรรมที่เนือยนิ่งเนื่องจากวัยทำงานยังไม่ได้มองเห็นถึงความสำคัญต่อการดูแลสุขภาพของตนให้แข็งแรงอยู่เสมอ ผลเสียที่ตามมาอย่างเห็นได้ชัด คือ รัฐบาลสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก ดังนั้น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในอนาคตที่ต้องเป็นการดูแลระยะยาวจึงต้องมีการป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งแต่แรกเริ่ม นั่นคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่จะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ โดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือการควบคุมภาวะโภชนาการให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย พบว่า ประชากรวัยทำงานมีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 77 โดยเป็นผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 ขึ้นไปที่ร้อยละ 5.71 ดังนั้น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว กลุ่มงานเวชกรรมสังคมจึงได้จัดทำโครงการลดพุง ลดโรค เพิ่มสุขภาพดี เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ ตามมาและเพื่อการมีสุขภาพที่แข็งแรงของวัยทำงานสามารถปฏิบัติงานและดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขต่อไป
1. เพื่อลดค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวของกลุ่มเป้าหมายที่มีค่ามากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดภาวะอ้วนของกลุ่มเป้าหมาย
1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
2. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงพฤตกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายที่มีผลต่อสุขภาพ
4. ติดตามผลการจัดกิจกรรมรายสัปดาห์และรายเดือน
5. ประเมินผลหลังจบกิจกรรม
ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยที่มีอายุระหว่าง 18 – 59 ปี ที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 23.00 จำนวน 20 คน (หมู่ละ 5 คน)
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.4 ค่าประกาศนียบัตร, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
2280เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
43
1/10/2020, 10:31:25พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
อิ่มบุญ อุ่นใจ ให้โดยไม่มีที่สิ้นสุด ปีงบประมาณ 2564
ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขที่ได้มีการขับเคลื่อนนโยบาย โรงพยาบาลคุณธรรม เน้นการสร้างบุคลากรสาธารณสุขให้มีจิตใจที่ดีงาม อดทน อดกลั้น รวมไปถึงดูแลเอาใจใส่ประชาชน สอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขที่ต้องการให้ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน ดังนั้นการดูแลสุขภาพจึงจำเป็นจะต้องดูแลทั้งร่างกายและจิตใจ การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านจึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นการเอาใจใส่ประชาชน โดยระบบบริการที่มุ่งพัฒนาให้เกิดทีมสหสาขาวิชาชีพให้การดูแลประชาชนในระดับปฐมภูมิได้อย่างทั่วถึง และต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนมีที่พึ่งยามเจ็บไข้ได้ป่วย เสมือนการมีหมอเป็นญาติ ให้ความสะดวกสบายและเป็นกันเองตลอดจนดูแลได้ใกล้ชิดเหมือนคลินิกหมอส่วนตัวที่ยังได้รับความนิยมจากประชาชนส่วนใหญ่
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในทุกตำบลของอำเภอ
ศรีสำโรงที่มีหน้าที่ดูแลประชาชนทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รวมไปถึงการฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย โดยการเยี่ยมบ้านนั้นถือเป็นกิจกรรมที่ใช้สำหรับการดูแลรักษา หรือใช้สำหรับการค้นหาปัญหาในอีกแง่หนึ่ง ซึ่งจะช่วยให้ทีมสหสาขาวิชาชีพได้เห็นภาพรวมของชีวิตผู้ป่วยหรือประชาชนในความดูแลได้มากขึ้นสามารถประเมินวิเคราะห์สภาพปัญหาและความเป็นอยู่ของครอบครัวแต่ละครอบครัวได้สอดคล้องกับพันธกิจของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยที่ว่า ให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพแบบองค์รวม โดยจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านของทีมสหสาขาวิชาชีพอำเภอศรีสำโรงทำให้ได้เห็นถึงสภาพปัญหาของประชาชนที่แท้จริง ดังนั้นการช่วยเหลือที่สำคัญอีกช่องทางหนึ่งคือการให้ สามารถช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้ โดยในปีงบประมาณ 256๑และปีงบประมาณ 2562 กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้จัดทำโครงการ “อิ่มบุญ อุ่นใจ ให้โดยไม่มีที่สิ้นสุด” ขึ้นซึ่งได้มีการนำสิ่งของที่ได้จากการตักบาตร(ได้รับอนุญาตจากพระแล้ว) จัดทำเป็นถุงบุญนำไปเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงที่ยากไร้ในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง พบว่าการลงเยี่ยมบ้านพร้อมถุงบุญสามารถช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและผู้ป่วยมีความรู้สึกอบอุ่นใจที่ได้รับการช่วยเหลือจากสังคมซึ่งหลังจากจัดโครงการเสร็จสิ้นแล้วพบว่าเจ้าหน้าที่ทั้งในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาลและผู้ที่สนใจ ได้เสนอแนะขอให้มีการจัดโครงการอย่างต่อเนื่อง
จากเหตุผลดังกล่าว กลุ่มงานเวชกรรมสังคมจึงได้จัดทำโครงการ อิ่มบุญ อุ่นใจ ให้โดยไม่มีที่สิ้นสุด ปี 4 โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ปี 2564 ขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล, ญาติผู้ป่วยที่มารับบริการและผู้ที่สนใจได้มีโอกาสทำบุญ บริจาคทาน เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยที่ยากไร้และขาดแคลนทุนทรัพย์หรือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือในพื้นที่อำเภอศรีสำโรงต่อไป
3.1 เพื่อให้ผู้ป่วยยากไร้หรือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือในพื้นที่บริการของเครือข่ายสุขภาพอำเภอศรีสำโรงได้รับการช่วยเหลือ
3.2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและญาติผู้ป่วยได้มีโอกาสสร้างบุญสร้างกุศลและบริจาคทานโดยไม่ต้องละทิ้งภาระหน้าที่
3.3 เพื่อกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและญาติผู้ป่วยที่มารับบริการเกิดจิตสำนึกที่ดีมีความช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
4.1 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่เจ้าหน้าที่และญาติผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
4.2 นิมนต์พระสงฆ์จากวัดโพธารามรับบิณฑบาตข้าวสารอาหารแห้ง ที่โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
4.3 ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ยากไร้หรือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือในพื้นที่อำเภอศรีสำโรงโดยพระสงฆ์และทีมสหสาขาวิชาชีพ
4.4 นำของที่ได้รับจากการบิณฑบาตไปมอบให้กับผู้ที่ยากไร้หรือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือที่ออกเยี่ยมบ้าน (โดยได้รับอนุญาตจากพระเรียบร้อยแล้ว
เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย,ญาติผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและผู้ที่สนใจ
อื่น ๆ0เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคมไม่ใช้งบประมาณ
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
44
1/10/2020, 10:42:43พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วเพื่อรักษาลดการแพร่กระจายเชื้อ อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
วัณโรคเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศและจังหวัดสุโขทัย เนื่องจากเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจซึ่งสามารถติดต่อได้ง่าย ภายใน 1 ปีผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ 1 ราย ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะสามารถแพร่เชื้อผู้อื่นได้ 15 -20 คน องค์การอนามัยโลกได้จัดลำดับประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลกทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค เพื่อป้องกัน ดูแลรักษา และควบคุมวัณโรค พ.ศ. 2560-2564 คือลดอัตราอุบัติการณ์ของวัณโรคลงร้อยละ 12.5 ต่อปีจาก 171 ต่อประชากร 100,000 คน ในปี พ.ศ. 2557 ให้เหลือ 88 ต่อประชากร 100,000 คน เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2564 และเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy)
อำเภอศรีสำโรงพบอัตราความสำเร็จของการรักษาปีงบ 2559, 2560, 2561,2562,2563 คือ 76.36, 77.27, 84.93, 91.78,73.85 อัตราป่วยตาย ปีงบ 2559, 2560, 2561,2562,2563 คือ 21.82, 19.70, 8.22,20,8.82 จากข้อมูลดังกล่าว อัตราป่วยตายสูง ผู้ป่วยได้รับการค้นหาล่าช้า และแฝงอยู่ในชุมชนทำให้แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นได้ ในปีงบประมาณ 2563 มีเป้าหมายในการค้นหาผู้ป่วย 89 ราย แต่ยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง จึงได้จัดทำโครงการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วเพื่อรักษาลดการแพร่กระจายเชื้ออำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2563
1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการรักษาเร็วขึ้น
2. ลดอัตราการตายของผู้ป่วย
3. ลดอัตราป่วยด้วยวัณโรค
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ประสานงานวัณโรคระดับอำเภอ, เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องภายในโรงพยาบาล
กิจกรรมที่ 2
2.1 คัดกรองด้วยวาจา (Verbal screening) กลุ่มเป้าหมาย
2.2 เอ็กซเรย์ปอดในกลุ่มเสี่ยงทุกราย
2.3 ตรวจเสมหะผู้ที่มีอาการไอหรือมีผลเอ็กซเรย์ปอดผิดปกติ
2.4 ทำ Tuberculin test ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
2.5 ส่งตรวจ Gene Xpert ในกรณีพบผู้ที่มีอาการไอและมีเอ็กซเรย์ปอดผิดปกติแต่ผลตรวจเสมหะปกติ
กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้เรื่องการคัดกรองและการกำกับการกินยาในผู้ป่วยวัณโรค รวมถึงวิธีการคัดกรองผู้ที่มีอาการสงสัยวิธีการเก็บเสมหะและการส่งตรวจที่ถูกต้อง (ตามแบบฟอร์มการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค) แก่ อสม./จิตอาสา พระ อสว.
กิจกรรมที่ 4 รณรงค์จัดทำสปอตวิทยุเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคโดยเปิดตามหอกระจายข่าวในแต่ละหมู่บ้าน
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย จำนวน 6,000 ราย มีรายละเอียดดังนี้
1. ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคร่วมบ้านและผู้ใกล้ชิด
2. ผู้ติดเชื้อ HIV
3. ผู้ป่วยเบาหวานอายุตั้งแต่ 60 ปี ที่คุมน้ำตาลไม่ได้ (FBS ≥ 150, HbA1C ≥7 สองครั้งขึ้นไป)
4. ผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปที่มีโรคร่วม เช่น COPD, CA, CKD (stage3-5), DM
5. ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่มีโรคร่วมคะแนน Verbal ≥ 3
6. บุคลากรสาธารณสุข
7. แรงงานต่างด้าว (ทุกรายที่มีใบทะเบียนแรงงานต่างด้าว)
8. กลุ่มอาชีพเสี่ยงเช่น คนเก็บขยะเทศบาล พระสงฆ์ ผู้ติดสุราเรื้อรัง
9. ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง
อื่น ๆ0เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3ชนิสรา สารบุญมาเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
45
1/10/2020, 10:54:57พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
ไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสขนาดใหญ่โดยที่พบบ่อยในคน คือ ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์เอ ชนิด H1N1 และ H3N2 และไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์บี โดยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สามารถติดต่อกันได้ง่าย โดยติดต่อกันทางการหายใจ เชื้อส่วนใหญ่จะอยู่ในเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เมื่อผู้ป่วยไอ จาม หรือพูด โดยเชื้อจะเข้าทางจมูกและปาก นอกจากนี้การแพร่เชื้ออาจเกิดจากมือที่สัมผัสกับพื้นผิว ของใช้ส่วนตัว หรือของใช้สาธารณะที่มีเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่และจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย โดยจะติดต่อง่ายในพื้นที่ที่มีคนอยู่หนาแน่น เช่น โรงเรียน โรงงาน
จากสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยปี 2563 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 19 กันยายน 2563 มีรายงานผู้ป่วยทั่วประเทศจำนวน 110,182 อัตราป่วย 165.72 ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิต 4 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.004 ต่อประชากรแสนคน โดยเมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุนั้นพบว่า ส่วนใหญ่พบผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 0-4 ปี มีอัตราป่วยสูสุด คือ 736.76 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 – 14 ปี มีอัตราป่วย 450.94 ต่อประชากรแสนคน และกลุ่มอายุ 15 – 24 ปี มีอัตราป่วย 131.34 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับจะเห็นได้ว่ากลุ่มผู้ป่วยที่มีอัตราป่วยสูงจะอยู่ในช่วงวัยเด็กและวัยเรียน จึงต้องมีการให้ความสำคัญต่อการป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มเด็ก และในสถานที่ที่มีการรวมตัวกันของคนหมู่มากมากขึ้น
ผลกระทบที่ตามมานอกจากการเจ็บป่วยตามอาการของโรคแล้วพบว่าอาจต้องหยุดงานหรือขาดเรียนเป็นระยะเวลานาน หรืออาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาได้ เช่น ปอดอักเสบ หรือ สมองอักเสบโดยมักพบในผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงของโรค นอกจากนั้นแล้วยังพบปัญหาการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้ความสนใจในการให้การป้องกันและดูแลรักษาอย่างเหมาะสม วิธีการป้องกันที่ดีที่สุด คือ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเสี่ยงที่เป็นเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่จะสามารถป้องกันได้ ร้อยละ60 – 80 ซึ่งวัคซีนไข้หวัดใหญ่จะสามารถมีภูมิคุ้มกันโรคได้ประมาณ 1 ปี ดังนั้น เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการหยุดงานหรือหยุดเรียนของประชาชน กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จึงได้ได้จัดทำโครงการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ปี 2563 ขึ้น
3.1 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
3.2 เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ของประชาชนในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
3.3 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ให้กับประชาชนที่มรรับบริการฉีด
4.1 จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุมัติโครงการ
4.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อทำการวางแผนการดำเนินงานโครงการ
4.3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.4 ดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
4.5 สรุปผลและประเมินผลโครงการ
5.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่มตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุขในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัยได้แก่
1.ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง
2. ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้น
3. หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
4. เด็กอายุ 6 เดือน – 2 ปี
5. ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
6. โรคธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง (รวมผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ)
7. โรคอ้วนหรือผู้ที่มีน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม หรือมี BMI มากกว่า 35 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
5.2 เจ้าหน้าที่และจิตอาสาด้านการแพทย์โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
5.3 บุคลากรสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
อื่น ๆ0เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสาวชนิสรา สารบุญมาเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ11) ไม่มี
46
1/10/2020, 11:03:42พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166ความปลอดภัยด้านอาหาร
อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิต การจัดการอาหารที่ดีนอกจากจะคำนึงถึงรสชาติแล้วยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหารเป็นสำคัญ ปัจจุบันพบการปนเปื้อนของอาหารจากสารที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ผู้จำหน่ายบางรายอาจไม่ทราบว่าผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายมีการปนเปื้อนสารเหล่านี้อยู่ หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้จำหน่ายต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องในเรื่องอาหารปลอดภัย ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายดำเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย เพื่อให้โรงพยาบาลที่ทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีร่างกายอ่อนแอ ให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ ทำให้ผู้ป่วยหายดีและไม่มีโรคแทรกซ้อน นอกจากผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์แล้ว ยังมีเจ้าหน้าที่และญาติผู้ป่วยที่รับประทานอาหารในโรงพยาบาล ซึ่งจะได้รับการดูแลให้ได้บริโภคอาหารปลอดภัยด้วย ซึ่งหากโรงพยาบาลสามารถดำเนินการได้ดีแล้ว สามารถเป็นต้นแบบและศูนย์กลางที่ขยายผลการดำเนินงานไปยังหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียน ชุมชน เพื่อให้ร่วมเป็นเครือข่ายอาหารปลอดภัย ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยในการบริโภคมากขึ้น
เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับอาหารที่มีความปลอดภัยเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
1. สำรวจ/จัดทำทะเบียนสถานประกอบการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
2. ตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด
3. ตรวจประเมินสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่จำหน่ายอาหาร
4. ตรวจภาชนะและผู้สัมผัสอาหาร
5. ตรวจอาหารทางสายยางสำหรับผู้ป่วย
6. สรุปผล
สถานประกอบการร้านค้าในเขตรับผิดชอบ โรงครัวและร้านค้าในโรงพยาบาล
เงินบำรุง รพ.2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
1. ค่าจัดซื้อชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด จำนวน 3,000 บาท
2. ค่าส่งตรวจอาหารทางสายยาง 3 ครั้ง x 7,000 บาท จำนวน 21,000 บาท
24000เดือนที่ 3เดือนที่ 1นางสาวจริยาภรณ์ พลอยแก้วเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ11) ไม่มี
47
1/10/2020, 11:28:52พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166วัยใส ไร้พุง
โรคอ้วนเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่กำลังพัฒนา โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียนที่พบว่าจากการเก็บข้อมูล พบว่ามีเด็กวัยเรียนมีภาวะโภชนาการที่เกินเกณฑ์มาตรฐานหรือมีภาวะเริ่มอ้วนและภาวะอ้วนที่ร้อยละ 17.79 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2562ที่มีผู้ที่ค่าดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐานที่ร้อยละ 17.60 จากปัญหาดังกล่าวนั้น จะสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจได้ โดยผลกระทบต่อร่างกาย คือ การเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคระบบทางเดินทายใจ ส่วนผลกระทบต่อจิตใจ คือ การเสียบุคลิกภาพ การถูกล้อเลียนซึ่งจะทำให้เด็กเกิดปมด้อย มีความกดดัน เกิดโรคซึมเศร้า มีปัญหาในการเข้าสังคม มีปัญหาทางพฤติกรรมและการเรียน ดังนั้น การแก้ไขปัญหาดังกล่าวคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ ตามมาและเพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กในวัยเรียนสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สร้างคุณค่าและประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติต่อไป
1. เพื่อลดค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวของกลุ่มเป้าหมายที่มีค่ามากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสม
1. สำรวจข้อมูลจากภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กวัยเรียนและกลุ่มเด็กวัยรุ่น
2. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และประชุมวางแผนการแก้ไขปัญหาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3. ดำเนินการแก้ไขปัญหาในกลุ่มเป้าหมายตามแผนที่ตั้งไว้
4. สรุปผลที่ได้จากการดำเนินงาน
1. นักเรียนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนเทศบาลวัดโพธาราม(บุญมากพิทยาคาร) ในระดับประถมศึกษา1 - 6จำนวน 5 คน
2. นักเรียนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 5 จำนวน 25 คน
กองทุนตำบล
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
1. ค่าแฟ้มแบบสอดขนาด A4 (30 อัน x 9 บาท) จำนวน 270 บาท
2. ค่าสายวัดเอว (30 อัน x 25 บาท) จำนวน 750 บาท
3. จัดทำคู่มือ (30 เล่ม x 30 บาท) จำนวน 900 บาท
4. ค่าปากกา (30 ด้าม x 5 บาท) จำนวน 150 บาท
2070เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3ขวัญประชา สุขใสเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
48
1/10/2020, 11:51:22พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ
ในปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญคือปัญหาผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งโรคเรื้อรังดังกล่าว โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ พบประชากรไทยมีแนวโน้มการตายและป่วยจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้นและมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของความชุกและจำนวนผู้เป็นเบาหวานสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังพบว่า เมื่ออายุสูงขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งแล้วจะเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง เป็นต้น
ดังนั้นกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จึงได้จัดทำการสร้างกระบวนการเรียนรู้ (Knowledge Management) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองในด้านการรักษาและส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน ในคลินิกของหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากโรค
1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
2.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้อง
1.ประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ปัญหาของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา
2.นำข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวานมาแบ่งกลุ่มตามระดับ HbA1C โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุมระดับดี ปานกลาง และต่ำ โดยใช้สติ้กเกอร์เป็นสัญลักษณ์
3.อธิบายถึงความสำคัญในการดูแลควบคุมระดับน้ำตาลแต่ละกลุ่ม รวมถึงเป้าหมายในการรักษา
4.ส่งเสริมให้ความรู้และกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน อาการ ภาวะแทรกซ้อน การใช้ยา โภชนาการที่เหมาะสม การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด
5.สร้างบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ และจัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ หรือความคิดเห็นในการควบคุมระดับน้ำตาล เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
6.สรุปผลการดำเนินงานในโครงการ
ผู้ป่วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยที่รับบริการที่คลินิกหมอครอบครัวคลองตาล ทั้งหมด 160 คน
เงินบำรุง รพ.1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์
1.ค่าวัสดุ (ค่าสติ๊กเกอร์ขนาด A4 3 สี สีละ 20 แผ่น แผ่นละ 10 บาท ทั้งหมด 60 แผ่น) จำนวน 600 บาท
2.ค่าวัสดุ (กระดาษ A4 85 บาท x 4 รีม) จำนวน 340 บาท
3.ค่าวัสดุ (กระดาษสี A4 55 แกรม 120 บาท x 2 รีม) 240 บาท
1180เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสุวนันท์ อินตุ้ยเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
49
1/10/2020, 11:56:00พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
พัฒนาระบบฐานข้อมูลแฟ้มสุขภาพครอบครัวเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
จากการสำรวจสำมโนประชากรพบว่าเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมีประชากรอยู่จำนวน 4,754 ราย 1,275 หลังคาเรือน โดยประชากรดังกล่าวมีการย้ายที่อยู่อาศัยหรือเข้ามาพักอาศัยโดยไม่ได้แจ้งย้ายที่อยู่อีกเป็นจำนวนมาก มีการเปลี่ยนแปลงชนิดการอยู่อาศัย (Type area) คลินิกหมอครอบครัวคลองตาลได้ตระหนักความสำคัญของการจัดทำฐานข้อมูล เพื่อให้เห็นการลื่นไหลของประชากรให้เห็นกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการทำงาน โดยใช้วิธีการสำรวจข้อมูลด้วยการจัดทำ Family Folder เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันของชุมชน และสามารถนำไปใช้ในการทำงานในด้านอื่นๆ
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมหมอครอบครัวกับประชาชนในชุมชน
2. เพื่อให้มีฐานข้อมูลที่ถูกต้องโดยจัดเก็บข้อมูลสุขภาพเป็น Family Folder
1. จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติ
2. จัดประชุมวางแผนประสานงานชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อดำเนินกิจกรรมในชุมชน
3. ดำเนินการสำรวจกลุ่มเป้าหมายและบันทึกข้อมูล โดยมีเป้าหมายการสำรวจ 15 ครอบครัวต่อวัน
4. นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาวิเคราะห์ และจัดทำแฟ้ม Family Folder
5. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
แกนนำครอบครัวที่รับผิดชอบหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน 78 คน
เงินบำรุง รพ.
1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (แกนนำครอบครัว 78 คน x คนละ 4 ครั้ง x 25 บาท) จำนวน 7,800 บาท
2.ค่าเอกสารแฟ้มครอบครัว แผ่นละ 0.6 สต./แผ่น (1 ชุด x 10 แผ่น x จำนวน 1,275 ชุด) จำนวน 7,650 บาท
15450เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3สุวนันท์ อินตุ้ยเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
8) โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ11) ไม่มี
50
1/10/2020, 11:58:48พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166ตั้งครรภ์คุณภาพ
ปัจจุบันประเทศไทยพบปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมและเป็นปัญหาได้ในทุกช่วงวัยโดยในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมานั้นพบผู้ที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในอายุที่ลดลง โดยพบตั้งแต่ในอายุต่ำกว่า 15 ปี และยังพบว่าในอายุ 15 -19 ปี ที่มีบุตรแล้วเกือบครึ่งหนึ่งเป็นการตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจ หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมเหล่านี้นับว่าเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ผลกระทบต่อปัญหาทางด้านการแพทย์ เช่น ปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง การติดเชื้อเอชไอวี การคุมกำเนิดที่ล้มเหลวส่งผลให้เกิดปัญหาเด็กทารกแรกคลอดถูกทอดทิ้ง เด็กพัฒนาการล่าช้า ผลการเรียนไม่ดี การนำนโยบาย 6 โปรแกรมคุณค่า สร้างเด็กไทยคุณภาพ ที่เปรียบเสมือนขั้นตอนแรกในการสร้างต้นทุนกำลังคน โดยเป็นการเตรียมความพร้อมคู่สมรสหรือผู้ที่ต้องการมีบุตรก่อนการตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด ตลอดถึงเมื่อเด็กเจริญเติบโตจากเด็กเล็กสู่วัยรุ่น ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพของแม่และเด็ก ความเข้าใจที่ดีของผู้ที่จะเป็นพ่อ เกิดความร่วมมือการดูแลครรภ์ที่มีคุณภาพ ลดปัญหาการคลอดก่อนกำหนดหรือคลอดทารกน้ำหนักน้อยที่ส่งผลรุนแรงต่อพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ลดความเสี่ยงของโรคและความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้เห็นถึงความสำคัญในการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การเตรียมการคลอดคุณภาพ การดูแลหลังคลอดคุณภาพ ได้จัดทำโครงการตั้งครรภ์คุณภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมส่งผลต่ออนาคตของอำเภอศรีสำโรงที่มีประชาชนสุขภาพดีต่อไป
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยมีการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ รวมไปถึงการเตรียมการคลอดที่ปลอดภัยและการดูแลหลังคลอดเพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามวัยอย่างถูกต้อง
1. ประชุมคณะทำงาน
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ รวมไปถึงการเตรียมการคลอดที่ปลอดภัยและการดูแลหลังคลอด
3. ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมรายเดือน
4. ประเมินผลการดำเนินงานหลังสิ้นสุดระยะเวลาที่กำหนด
หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน 20 คน
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
1. แฟ้มสอดขนาดA4 (20 อัน x 4 บาท) จำนวน 80 บาท
2. ปากกาน้ำเงิน (20 อัน x 5 บาท) จำนวน 100 บาท
3. ค่ากระดาษปก (2 ห่อ x 80 บาท) จำนวน 160 บาท
340เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3ราชันย์ ทุนมากเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
51
1/10/2020, 12:02:30พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166สูงวัยอย่างมีความสุข
ประเทศไทยในปัจจุบันนั้นได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยจากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย ปี พ.ศ.2553 –พ.ศ.2583 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สคช.) พบว่า ในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึง 20.5 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32 ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมดแต่จะมีประชากรวัยแรงงานเพียง 35.18 ล้านคน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีประชากรวัยแรงงานจำนวน 42.74 ล้านคน หรือลดลงจำนวน 7.6 ล้านคน การเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุนั้นส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ นอกจากนั้นผู้สูงอายุยังเผชิญปัญหาสภาพชีวิต ความเป็นอยู่และระบบการดูแลที่ไม่ได้มาตรฐาน รวมถึงความมั่นคงทางรายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุจากครอบครัวยากจน และการดำรงชีวิตในสังคมให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ทำให้สถานการณ์ของผู้สูงอายุไทยน่าวิตก รัฐจึงมีนโยบายให้มีมาตรการในการรองรับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย โดยเน้นให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเองได้ ไม่มีการพลัดตกหกล้ม ป้องกันการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ป้องกันภาวะสมองเสื่อม และการดูแลสุขภาพเพื่อไม่ให้กลายเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียงและเพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีและมีความสุขและในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัยนั้น พบผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ภาวะซึมเศร้า ภาวะข้อเข่าเสื่อมที่ผิดปกติ เพิ่มขึ้น มีความเสี่ยงต่อการพลัดตก หกล้ม ที่เพิ่มขึ้น มีผู้สูงอายุที่อยู่ในกลุ่มติดบ้านเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา โดยในอำเภอศรีสำโรงมีผู้สูงอายุในกลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง
จากเหตุผลดังกล่าว กลุ่มงานเวชกรรมสังคมจึงได้จัดทำโครงการ “สูงวัยอย่างมีความสุข” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในตำบล คลองตาล รู้จักวิธีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเอง สามารถมีชีวิตในช่วงสูงวัยได้อย่างมีความสุข สุขภาพดีลดการพึ่งพิงจากบุคคลรอบข้าง ไม่เป็นผู้สูงอายุที่ตกเป็นภาระของผู้อื่นและสามารถสร้างประโยชน์ให้กับสังคมได้ต่อไป
เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่อาศัยในตำบล คลองตาล มีวิธีการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานกิจกรรม
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมดังนี้
2.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 100 คน
2.2 ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแบบประเมิน 4 ด้าน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และ กลุ่มติดสังคม
2.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดี 4 ด้าน (กาย,จิต,อารมณ์,สังคม)
2.4 พบปะพูดคุยในกลุ่มเป้าหมายทุก ๆ 2 เดือนเพื่อติดตามและประเมินผล
3. ประเมินผลด้วยแบบประเมิน 4 ด้านหลังเข้าร่วมกิจกรรม โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดสังคม
ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน 100 คน
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.10 ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
1. ค่าจัดทำคู่มือ (100เล่ม x 30 บาท) จำนวน3,000บาท
2.ค่าแฟ้มสอด ขนาด A4 (100เล่ม x 4บาท) จำนวน400บาท
3.ค่าปากกาน้ำเงิน (100ด้ามx 5 บาท) จำนวน 500บาท
2. ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมโครงการ(100คน x 25บาท) จำนวน2,500 บาท
6400เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3จิดาภา แจ่มจันทร์เวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
52
1/10/2020, 12:05:27พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพยาบาลเยี่ยมบ้าน ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
การเยี่ยมบ้านยังคงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย ไม่แพ้เครื่องมือทางการแพทย์ในปัจจุบันที่ทันสมัย การเยี่ยมบ้านเป็นเครื่องมือที่ประหยัดและง่ายต่อการนำไปใช้เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างแพทย์กับผู้ป่วยและครอบครัว(Doctor-Patient and Family Relationship)และเป็นการเรียนรู้และเสริมสร้างการดูแลสุขภาพอย่างองค์รวมของผู้ดูแลรักษาโดยยึดแนวคิดการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง(Patient and Family Oriented Care)จากบริบทและการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและครอบครัว(Patient and Family Participation)การเยี่ยมบ้านที่ดีจะทำให้เกิดความต่อเนื่องในการดูแลรักษาและเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมผู้ดูแลรักษากับผู้ป่วยและครอบครัว อันจะส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยและความร่วมมือในการดูแลมากขึ้น ทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นในระยะยาว การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเป็นจุดเน้นอีกจุดหนึ่งในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย เป็นบริการปฐมภูมิที่ต้องเชื่อมโยงทั้งข้อมูลและแผนการรักษาจากโรงพยาบาลสู่บ้านของผู้ป่วยเป็นการติดตามช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวในบริบทของตัวผู้ป่วยและครอบครัวเป็นหลัก บางครั้งต้องใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านของผู้ป่วย ครอบครัวและความรู้ความสามารถของทีมผู้ดูแลในการประยุกต์การดูแลร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในการดูแลมากที่สุด ซึ่งในการติดตามดูแลผู้ป่วยและครอบครัวลักษณะเช่นนี้ ทีมเยี่ยมบ้านโดยเฉพาะพยาบาลเยี่ยมบ้านผู้มีบทบาทสำคัญในทีมควรเรียนรู้และพัฒนาตนเองในการให้การดูแลผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในทุกตำบลของอำเภอศรีสำโรงที่มีหน้าที่ดูแลประชาชนทั้งด้านการรักษา การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รวมไปถึงการฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย โดยการเยี่ยมบ้านนั้นถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ใช้สำหรับการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลเชื่อมโยงสู่ชุมชน สามารถประเมินวิเคราะห์สภาพปัญหาและความเป็นอยู่ของครอบครัวแต่ละครอบครัวได้สอดคล้องกับพันธกิจของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยที่ว่า ให้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพแบบองค์รวม
ในการนี้กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพพยาบาลเยี่ยมบ้านจึงได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพยาบาลเยี่ยมบ้าน ปี ๒๕๖๔ ขึ้น
๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลเยี่ยมบ้านในการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านให้มีประสิทธิภาพ
๒. เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ในทีมเยี่ยมบ้าน
๑. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาศักยภาพพยาบาลเยี่ยมบ้าน
๒. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบใน CUPศรีสำโรง
๓. สรุปและประเมินผล
พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในทุกตำบลของอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย จำนวน ๔๐ คน
เงินบำรุง รพ.1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง ๑๑๐ บาท x ๔๐ คน x ๑ วัน เป็นเงิน ๔,๔๐๐ บาท
4400เดือนที่ 2สายฝน เชิงคีรีเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
53
1/10/2020, 13:34:04พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการในผู้ป่วยวัณโรคอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
วัณโรคเป็นโรคที่มีความสำคัญ เนื่องจากวัณโรคเป็นสาเหตุการตาย 1 ใน 10 สาเหตุการตายสิบอันดับแรกทั่วโลก ทั้งยังสามารถแพร่กระจายทางอากาศได้ องค์การอนามัยโลกประเมินว่าในปี ค.ศ. 2016 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 10.4 ล้านคน เสียชีวิตจากวัณโรค 1.7 ล้านคน ในผู้ที่เสียชีวิตนี้มีการติดเชื้อเอชไอวีร่วมประมาณ 0.4 ล้านคน โดยในประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความชุกของวัณโรคอยู่ในระดับสูง (172 คน ต่อ 1 แสนประชากร) และยังมีผู้ป่วยเอชไอวีสูง ดังนั้นองค์การอนามัยโลกได้จัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีความชุกของวัณโรคและเอชไอวีระดับสูง องค์การอนามัยโลกได้ประเมินว่าประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วยประมาณ 119,000 คน เสียชีวิตประมาณ 8,600 ราย
โดยอำเภอศรีสำโรงมีผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2562 จำนวน 65 คน เสียชีวิต 13 คน (ร้อยละ 20.00) ซึ่งอัตราผู้เสียชีวิตสูงกว่าเกณฑ์ที่ไม่ควรเสียชีวิตเกินร้อยละ 5 โดยปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรค ได้แก่ สูงอายุ น้ำหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์ ขาดสารอาหาร ติดเชื้อเอชไอวี หรือถูกวินิจฉัยช้า เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคจึงได้มีการดำเนินงานต่าง ๆ เช่น ค้นหาผู้ป่วยให้เร็วเพื่อลดการวินิจฉัยล่าช้า การคัดกรองวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีทุกปี และการที่ผู้ป่วยวัณโรคมีน้ำหนักตัวน้อยเป็นอีกปัจจัยเสี่ยงหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการปรับปรุงภาวะโภชนาการในผู้ป่วยวัณโรค เพื่อหวังลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวัณโรค ในอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
เพื่อปรับปรุงภาวะโภชนาการในผู้ป่วยวัณโรค
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง ผู้ประสานงานวัณโรคระดับอำเภอ เจ้าหน้าที่ รพ. สต. ที่รับผิดชอบงานวัณโรค และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พยาบาลผู้รับผิดชอบคลินิกวัณโรค นักโภชนากร และอื่น ๆ
กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนอาหารสำหรับปรับปรุงภาวะโภชนาการในผู้ป่วยวัณโรคคือ ไข่และนมขนาด 250 ซีซีเป็นเวลา 2 สัปดาห์
กิจกรรมที่ 3 ประเมินภาวะโภชนาการและติดตามอาการข้างเคียงจากยาวัณโรค โดยเจ้าหน้าที่ รพ. สต. เป็นระยะ
กิจกกรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน
ผู้ป่วยวัณโรคทุกชนิด ในอำเภอศรีสำโรงจังหวัดสุโขทัย 60 ราย
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.13 ค่าอาหาร
1.ค่าไข่ไก่ จำนวนคน 60 คน x คนละ 6 ฟอง x จำนวน 15 วัน x ไข่ฟองละ 4 บาท
2.ค่านม ขนาด 120-250 ซีซี จำนวนคน 60 คน x คนละ 2 กล่อง xกล่องละ 15 บาท x 30 วัน
3.ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเข้าร่วมโครงการ 2,540 บาท
78140เดือนที่ 1นายแพทย์ศักดิ์ดา ตาไวเวชกรรมสังคม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
54
1/10/2020, 13:41:33พรสุดา รักแย้มเวชกรรมสังคม0834118166
โครงการพัฒนาความรู้การดูแลผู้ป่วยแก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
ในปัจจุบันงานปริการปฐมภูมิมีบทบาทต่อการบริการผู้ป่วยในชุมชน มากขึ้นเรื่อย ๆ บุคลากรที่มีบทบาทที่สำคัญในชุมชนคือ เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่จะต้องเตรียมพร้อมด่านความรู้ในการดูแลผู้ป่วยในชุมชน
ดั้งนั้นเพื่อเป็นการพัฒนาความรู้การดูแลผู้ป่วยแก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภอศรีสำโรง จึงจัดโครงการนี้ขึ้น และจะส่งผลให้การดูแลผู้ป่วยในงานปฐมภูมิดียิ่งขึ้น
เพื่อพัฒนาความรู้ในการดูแลผู้ป่วย แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในอำเภอศรีสำโรง
กิจกรรมที่ 1 การทดสอบความรู้ในการดูแลผู้ป่วยในชุมชนก่อนการอบรม ครอบคลุม การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ การดูแลผู้ป่วยประคับประครอง การใช้ยาที่มีเทคนิคพิเศษ เช่น ยาฉีดอินซูลิน
กิจกรรมที่ 2 การให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ การดูแลผู้ป่วยประคับประครอง การใช้ยาที่มีเทคนิคพิเศษ เช่น ยาฉีดอินซูลิน
กิจกรรมที่ 3 ประเมินความรู้หลังกิจกรรมการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กิจกกรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน
- เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าที่งานปฐมภูมิ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ในอำเภอศรีสำโรง จำนวน 33 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร
1. ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ ระยะเวลา 2 วัน จำนวนผู้เข้าร่วม 33 คน (25x2x2x33) เป็นเงิน 3,300 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 60 บาท จำนวน 2 วัน จำนวนผู้เข้าร่วม 33 คน (50x2x33) เป็นเงิน 3,960 บาท
3. ค่าวิทยากรบรรยายชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 8 ชั่วโมง เป็นเงิน 4,800 บาท
4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท
13060เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นายแพทย์ศักดิ์ดา ตาไวเวชกรรมสังคม
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
8) โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ11) ไม่มี
55
1/10/2020, 13:44:39สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการตรวจสอบคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
น้ำเป็นสิ่งจําเป็นเพราะมนุษย์ต้องน้ำนําไปใช้ในการดํารงชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะน้ำบริโภคต้องเป็นน้ำที่สะอาดมีคุณภาพ มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย ซึ่งน้ำอุปโภคและบริโภคดังกล่าว ถ้าไม่สะอาดปลอดภัยตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภคแล้ว อาจก่อให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร ปัสสาวะเป็นพิษ อาหารเป็นพิษ นิ่วในไต ระบบประสาท มะเร็ง โรคผิวหนัง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนโดยตรง ทําให้ประกอบอาชีพไม่ได้และกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ โดยการเฝ้าระวังหมั่นตรวจคุณภาพน้ำอุปโภคและบริโภคให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างสม่ำเสมอ
คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค จึงได้จัดทําโครงการตรวจสอบคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภคปีงบประมาณ ๒๕64 ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค เพื่อลดปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ เพื่อประชาชนได้ใช้น้ำบริโภคและอุปโภคที่สะอาด ปลอดภัย ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดี พร้อมกับเป็นการสร้างความตระหนักแก่ประชาชน และผู้เกี่ยวข้องในการดูแลเกี่ยวกับน้ำประปา ผู้ผลิตน้ำดื่มและน้ำแข็งจำหน่าย ตลอดจนผู้ดูแลแหล่งน้ำธรรมชาติ ได้เฝ้าระวังแก้ไข ตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้น้ำบริโภคและอุปโภคได้คุณภาพ ตามมาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย ปราศจากการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์และสารพิษอื่น ๆ ที่เป็นพิษต่อร่างกาย
๑. เพื่อทราบสถานการณ์และแนวโน้มของคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภคในพื้นที่
๒. เพื่อการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภคให้สะอาดปลอดภัยตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
๓. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้ดูแลเรื่องน้ำ มีองค์ความรู้ ตระหนักต่อปัญหาที่เกิดจากน้ำบริโภคและอุปโภค ซึ่งผลกระทบต่อสุขภาพ และผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวให้ความร่วมมือ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคและอุปโภค
๑ เขียนโครงการ วางแผนและกำหนดแนวทางการดําเนินงาน
2 ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้อง
๒. ประสานงานกับ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อประสานงานต่อกับผู้นําชุมชน, ผู้ดูแลระบบประปา, ผู้บริหารโรงเรียน, เจ้าอาวาสวัด, นายกองค์การส่วนบริการตำบล, นายกเทศมนตรี เพื่อดำเนินการเก็บน้ำตัวอย่าง เพื่อตรวจคุณภาพ ตามแผนการดำเนินงานและให้ได้ตามเป้าหมาย
๓. นําตัวอย่างน้ำมาทดสอบตามเครื่องมือที่กำหนด คือ น้ำบริโภคและอุปโภค ใช้น้ำยา อ.11 , น้ำประปา ตรวจคลอรีนตกค้างเพิ่ม, แหล่งน้ำธรรมชาติตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง
๔. อ่านค่า นำผลการตรวจมาประมวลผล/วิเคราะห์ผล/ประเมินผล
๕. แจ้งผลการตรวจให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและให้คําแนะนําผู้เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำอุปโภคและบริโภคที่มีปัญหา ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และนําเสนอผู้บริหารเพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป
6. หลังจากมีการปรับปรุงแหล่งน้ำที่มีปัญหา ลงเก็บตัวอย่างน้ำ เพื่อตรวจคุณภาพซ้ำในแหล่งที่มีปัญหา
เป้าหมาย เก็บตัวอย่างน้ำอุปโภค จำนวนแห่งละ 3 ตัวอย่าง น้ำบริโภค จำนวน 1 ตัวอย่าง ในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ดังนี้
3.1 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในโรงเรียน อนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จำนวน 46 แห่ง น้ำอุปโภคแห่งละ 3 ตัวอย่าง รวมเป็น 138 ตัวอย่าง น้ำบริโภค 46 แห่ง ๆ ละ 1 ตัวอย่าง รวม 46 ตัวอย่าง
3.2 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในวัด จำนวน 47 แห่ง น้ำอุปโภคแห่งละ 3 ตัวอย่าง รวมเป็น 141 ตัวอย่าง น้ำบริโภค แห่งละ 1 ตัวอย่าง รวม 47 ตัวอย่าง
3.3 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 13 แห่ง น้ำอุปโภค 3 ตัวอย่าง รวมเป็น39 ตัวอย่าง น้ำบริโภค 1 ตัวอย่าง รวมเป็น 13 ตัวอย่าง
3.4 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 13 แห่ง น้ำอุปโภคแห่งละ 3 ตัวอย่าง รวมเป็น 39 ตัวอย่าง น้ำอุปโภคแห่งละ 1 ตัวอย่าง รวมเป็น 13 ตัวอย่าง
3.5 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในสถานที่ผลิตน้ำดื่ม จำนวน 4 แห่ง
3.6 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จำนวน 20 แห่ง น้ำบริโภคแห่งละ 1 ตัวอย่าง รวม 20 ตัวอย่าง น้ำอุปโภค แห่งละ 3 ตัวอย่าง รวม 60 ตัวอย่าง
3.6 เก็บน้ำอุปโภคและบริโภคในสถานที่ผลิต/จำหน่ายน้ำแข็ง จำนวน 4 แห่ง
3.7 เก็บน้ำประปาหมู่บ้าน จำนวน 118 แห่ง ๆ ละ 3 ตัวอย่าง รวมเป็น 354 ตัวอย่าง ตรวจคลอรีนตกค้าง แห่งละ 1 ตัวอย่าง รวม 118 แห่ง
3.8 เก็บน้ำในตู้หยอดเหรียญ จำนวน 118 แห่ง ๆ ละ 1 ตัวอย่าง รวม 118 ตัวอย่าง
รวมน้ำอุปโภค 775 ตัวอย่าง น้ำบริโภค 143 ตัวอย่าง แหล่งผลิตน้ำประปา 118 ตัวอย่าง ตรวจคลอรีนตกค้าง ในน้ำประปา จำนวน 118 ตัวอย่าง รวมตัวอย่างทั้งหมด 1,154 ตัวอย่าง
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
9.1 ค่าอาหารว่าง การประชุมชี้แจงโครงการ 25 คน ๆ ละ 20 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
9.2 ค่าอาหารในการออกเก็บตัวอย่างน้ำส่งตรวจ 3 คน ๆ ละ 50 บาท จำนวน 50 วัน ๆ ละ 1 มื้อ เป็นเงิน 7,500 บาท
9.3 ค่าอาหารว่างในการออกเก็บตัวอย่างน้ำส่งตรวจ 3 คน ๆ ละ 20 บาท จำนวน 50 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
9.4 ค่าชุดตรวจโคลิฟอร์มในน้ำ จำนวน 1,500 ชุด ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 22,500 บาท
9.5 ค่าชุดตรวจคลอรีนตกค้างในน้ำประปา จำนวน 10 ชุด ๆ ละ 350 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
รวมเป็นเงิน 40,000 บาท (สี่หมื่นบาทถ้วน)
2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ40000เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
ค่าใช้จ่ายต่างๆอาจเปลี่ยนแปลง
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
56
1/10/2020, 13:58:00สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการ Safety Week ปีงบประมาณ 2564
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เป็นกลุ่มงานที่พึ่งเริ่มมีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการมาไม่นาน การดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงานรวมถึงงานอาชีวเวชกรรมอื่นๆ การตระหนักถึงสำนึกความปลอดภัยในเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเป็นสิ่งสำคัญในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
1. เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลในทุกภาคส่วนมีจิตสำนึกตระหนักถึงการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
2. เพื่อให้ความรู้เจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยให้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
ดำเนินการให้มีการจัด Safety week โดยประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้
2.1 การอบรมให้ความรู้เรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2.2 เกมส์ Safety
2.3 การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรุนแรง
2.4 การอบรมศิลปะป้องกันตัว
เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เงินบำรุง รพ.
1.2 ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด - ปิด การฝึกอบรม, 1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.4 ค่าประกาศนียบัตร, 1.6 ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม, 1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร
. เงินประกันสังคม
ค่าวิทยากรภายนอก = 12,000 บาท
อาหารว่างคนละ 25 บาท จำนวนเฉลี่ยครั้งละ 100 = 2,500 บาท
ค่าอุปกรณ์สำนักงานเบ็ดเตล็ด = 5,000 บาท
2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ

ค่าอุปกรณ์สำนักงานเบ็ดเตล็ด = 5,000 บาท
21500เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
รายละเอียดค่าใช้จ่ายอาจเปลี่ยนแปลง
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
57
1/10/2020, 14:04:17สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ปีงบประมาณ 2564
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เป็นกลุ่มงานที่พึ่งเริ่มมีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการมาไม่นาน การดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงานรวมถึงงานอาชีวเวชกรรมอื่นๆ ซึ่งถือเป็นกลุ่มงานให้ที่มีการจัดตั้งขึ้น โดยในงานอาชีวอนามัยประกอบด้วยหลายองค์ประกอบนอกเหนือจากการตรวจสุขภาพเพียงอย่างเดียว การพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยพาไปเยี่ยมชมสถานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมที่มีงานอาชีวเวชกรรมอย่างเข้มแข็ง เพื่อให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติในเครือข่ายที่เข้มแข็งจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้ปฏิบัติงานให้กับกลุ่มงาน
1. เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมมีการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เข้าใจขอบโครงสร้างของหน่วยงาน
ดำเนินการให้มีการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสถานประกอบการ ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้
การเยี่ยมชมศูนย์อาชีวเวชกรรม ศูนย์เวชศาสตร์อุตสาหกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา และ โรงพยาบาลระยอง
เจ้าหน้าที่กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เงินบำรุง รพ.
1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.11 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร, 1.14 ค่าเช่าที่พัก, 1.15 ค่ายานพาหนะ
เงินบำรุงโรงพยาบาล
ค่าเช่ารถตู้ 3 วัน = 12,000 บาท
ค่าห้องพัก 3 วัน 8 คน คนละ 900 บาท = 21,600 บาท
เบี้ยเลี้ยง 8 คน คนละ 240 บาท 4 วัน = 7,680 บาท

2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ ค่าวิทยากรเบ็ดเตล็ด = 5,000 บาท46280เดือนที่ 1สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
58
1/10/2020, 15:44:29สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0687345187
โครงการเดินสำรวจและให้ความรู้ภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและสถานประกอบการ ในเขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2564
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เริ่มมีแพทย์วุฒิบัตรกลับมาประจำเป็นคนแรกในสังกัดเขตสุขภาพที่ 2 และกำลังเริ่มดำเนินงานทางอาชีวเวชกรรมทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล การเดินสำรวจสถานประกอบการจัดเป็นหนึ่งในกิจกรรมทางอาชีวอนามัยที่สำคัญเพื่อสำรวจสิ่งคุกคาม ความเสี่ยง และหาแนวทางการเฝ้าระวังที่เหมาะสม รวมถึงกำหนดรายการตรวจสุขภาพประจำปีตามปัจจัยเสี่ยง เพื่อประเมิน และ เฝ้าระวังพนักงาน นอกจากนั้นยังเป็นการเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างพนักงานในหน่วยงาน ให้ความรู้ที่เหมาะสมกับพนักงานที่มีการสัมผัสสิ่งคุกคามทางสุขภาพ
1. เพื่อเดินสำรวจภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและสถานประกอบการภายในเขตสุขภาพที่ 2
2. เพื่อให้ความรู้เจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและสถานประกอบการภายในเขตสุขภาพที่ 2
3. เพื่อประเมินความเสี่ยงและกำหนดรายการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงภายในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและสถานประกอบการภายในเขตสุขภาพที่ 2
1.1 ขออนุมัติโครงการ
1.2 ประสานงานกับฝ่าย / กลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง
1.3 เดินสำรวจ/ให้ความรู้ภายในสถานประกอบการ/แผนกในโรงพยาบาล
1. พนักงานในแผนกในโรงพยาบาลที่คาดว่ามีความเสี่ยงต่อการสัมผัสสิ่งคุกคามทางสุขภาพ ได้แก่
ทันตกรรม จ่ายกลาง เคมีบำบัด ซ่อมบำรุง ซักฟอก ห้องผ่าตัด และ นิติเวช เป็นต้น
2. พนักงานในสถานประกอบการในเครือข่าย
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์

เงินประกันสังคม
ค่าวิทยากรภายนอก = 12,000 บาท
อาหารว่างคนละ 15 บาท จำนวนเฉลี่ยครั้งละ 60 คน จำนวน 15 ครั้ง = 13,500 บาท
2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ25500เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
59
1/10/2020, 16:28:12สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการเจาะเลือดตรวจหาสารเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกร เขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ประจำปีงบประมาณ 2563
สารเคมีกาจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือจะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น ซึ่งเกษตรส่วนใหญ่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยประกอบอาชีพในเกษตรกรรม ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำนา ทำไร่อ้อย ทำไร่ข้าวโพด ทำสวน ปลูกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง

ดังนั้นโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตรับผิดชอบ จึงได้จัดทำโครงการเจาะเลือดตรวจหาสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในเกษตรกรในเขตรับผิดชอบขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทาการเฝ้าระวังต่อไป
1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
2.เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีเพื่อการเกษตร
3.เพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากสารเคมีทางการเกษตร

1. จัดทำโครงการ และขอเสนออนุมัติโครงการ
2. ประชุมวางแผนการดำเนินงานในกลุ่มงาน
3. ประชุมชี้แจงโครงการ ประสานงานกับผู้นำชุมชนและ อสม.
4. ลงไปสำรวจเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและทำแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (แบบสอบถาม นบก.1-56)
5. เจาะเลือดตรวจหาสารเคมีเกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สาเคมี
6. สรุปผลการดำเนินงาน

เพื่อลดต้นทุนปัจจัยในการผลิตของของกลุ่มเกษตรกรและผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อมของชุมชนและไม่ทาเป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
8.1 ค่าอาหารว่างจัดประชุม ชี้แจง วางแผน การดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 25 คน ๆ ละ 20 บาทx 1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
8.2 ค่าอาหารกลางวันในการจัดประชุมชี้แจง วางแผน การดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 25 คน ๆ ละ 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
8.3 ค่าอาหารว่างเจ้าหน้าที่ในการออกเจาะเลือดเกษตรกร จำนวน 5 คน ๆ ละ 20 บาทx20 วัน ๆ ละ 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
8.2 ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ในการออกเจาะเลือดเกษตรกร จำนวน 5 คน ๆ ละ 50 บาท x 20 วัน ๆ ละ 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
8.3.ค่าวัสดุในการอบรม
8.4 กระดาษทดสอบหาปริมาณโคลีนเอสเตอเรส 5 กล่อง ๆ ละ 850 บาทเป็นเงิน 4,250 บาท
8.5.อุปกรณ์ในการตรวจ ประกอบด้วย
- เข็มเจาะปลายนิ้ว 5 กล่อง (1 กล่องมี 100 ชิ้น) ราคา กล่องละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- Capillary tube 5 กล่อง (1 กล่องมี 100 tube) ราคา กล่องละ 300 บาท เป็นเงิน
- ถุงมือ 5 กล่อง ราคากล่องละ 115 บาท เป็นเงิน 575 บาท
- สำลี 3 ห่อ ราคาห่อละ 100 บาท เป็นเงิน 300 บาท
- แอลกอฮอล์ 70% จำนวน 5 ขวด ราคาขวดละ 50 บาท เป็นเงิน 250 บาท
- ดินน้ำมัน 6 ก้อน ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
8.6. ค่าป้ายโครงการ จำนวน ๑ ป้ายขนาด 1.5 x 3 เมตร (ตารางเมตรละ 150 บาท) เป็นเงิน 675 บาท
16600เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
60
1/10/2020, 23:05:41
นางสาวทัชชิรพรรณ เทียนมั่น
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2113
โครงการฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
โรคเบาหวานนับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญ มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานานไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ มักจะเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปัญหาการมองเห็น ปัญหาทางไต และปัญหาโรคแทรกซ้อนทางเท้า เกิดภาวะอาการชาอวัยวะส่วนปลาย โดยเฉพาะชามือและเท้า เมื่อเกิดแผลจะทำให้ไม่รู้ตัวเนื่องจากผู้ป่วยขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น
1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการดูแลเท้าได้ถูกต้อง
1. ฝึกอบรมการให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
2. ฝึกอบรมการส่งเสริมสุขภาพด้านสมุนไพร
3. การสาธิตการออกกำลังกาย กายบริหารการดูแลเท้า
4. สอนสาธิตการทำเกลือสมุนไพรแช่เท้า
5. สอนสาธิตการนวดเท้าด้วยตนเอง
6. สอนสาธิตการแช่เท้าด้วยเกลือสมุนไพร
7. ฝึกอบรมการให้ความรู้การใช้อุปกรณ์นวดเท้า
ผู้ป่วยโรคเบาหวานภายในพื้นที่อำเภอศรีสำโรง จำนวน 90 คน 3 แห่ง แห่งละ 30 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.11 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน, 1.13 ค่าอาหาร
1. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ เช่น ปากกา 100 ด้าม x 5 บาท จำนวน 500 บาท
2. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ จำนวน 90 ชุด x 50 บาท จำนวน 4500 บาท
3. ค่าอาหาร ( 100 คน x 50 บาท จำนวน 5000 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 100 คน x 20 บาท จำนวน 2,000 บาท
5. ค่าป้ายไวนิล 1 ป้าย ป้ายละ 500 บาท
ข้อ 7.2
ค่าวัสดุอุปกรณ์
1. หม้อต้มน้ำ (หม้อสตูว์) จำนวน 1 ใบ ราคา 450 บาท
2. กะละมังพลาสติก จำนวน 30 ใบ ราคา 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
3. กะละมังสแตนเลส จำนวน 3 ใบ เป็นเงิน 150 บาท
4. ผ้าขุนหนู 8 โหล โหลละ 120 บาท เป็นเงิน 1920 บาท
5. โลชั่น 3 ขวด จำนวน 300 บาท
6. สมุนไพร (ผงไพล ผงขมิ้น ผงขิง เถาเอนอ่อน น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ใบมะขาม มะกรูด) บาท
9000 บาท
7. ดอกเกลือ 30 กิโลกรัม 1,500 บาท
8. ถุงซิปล็อค 150 ใบ จำนวน 300 บาท
รวมเป็นเงิน 27,020 บาท
2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ, 2.4 ค่าสาธารณูปโภค
1. ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ เช่น ปากกา 100 ด้าม x 5 บาท จำนวน 500 บาท
2. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ จำนวน 90 ชุด x 50 บาท จำนวน 4500 บาท
3. ค่าอาหาร ( 100 คน x 50 บาท จำนวน 5000 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 100 คน x 20 บาท จำนวน 2,000 บาท
5. ค่าป้ายไวนิล 1 ป้าย ป้ายละ 500 บาท
ข้อ 7.2
ค่าวัสดุอุปกรณ์
1. หม้อต้มน้ำ (หม้อสตูว์) จำนวน 1 ใบ ราคา 450 บาท
2. กะละมังพลาสติก จำนวน 30 ใบ ราคา 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
3. กะละมังสแตนเลส จำนวน 3 ใบ เป็นเงิน 150 บาท
4. ผ้าขุนหนู 8 โหล โหลละ 120 บาท เป็นเงิน 1920 บาท
5. โลชั่น 3 ขวด จำนวน 300 บาท
6. สมุนไพร (ผงไพล ผงขมิ้น ผงขิง เถาเอนอ่อน น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ใบมะขาม มะกรูด) บาท
9000 บาท
7. ดอกเกลือ 30 กิโลกรัม 1,500 บาท
8. ถุงซิปล็อค 150 ใบ จำนวน 300 บาท

รวมเป็นเงิน 27,020 บาท
27020เดือนที่ 2นางสาวอรศิมา ภักดี
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
16) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
11) ไม่มี
61
2/10/2020, 15:58:38นางสาวยุภารัตน์ สุกกล้าโภชนศาสตร์0812849856
โครงการเด็กไทยสุขภาพดีเริ่มที่อาหาร
อาหารเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าประชาชนส่วนใหญ่บริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ ไม่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ซึ่งส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ ทางกลุ่มงานโภชนศาสตร์จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการที่เหมาะสม ซึ่งกลุ่มวัยเด็ก 0-5 ปี เป็นกลุ่มเริ่มต้นของการบริโภคอาหาร จึงได้จัดทำโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี เพื่อเป็นการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในอนาคต
เพื่อให้เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลและเจ้าหน้าที่โรงพยบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผู้ดูแลเด็กปฐมวัยและเด็กก่อนวัยเรียนได้รับความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมไปเผยแพร่ต่อแก่ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารในโรงเรียนได้
จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร หลักโภชนาการที่เหมาะสม เรียนรู้การประกอบอาหาร และเมนูอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก 0-5ปี
เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล13 แห่งๆละ 2 คนและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล19 แห่งๆ1 คน รวม 45 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม( 45 คนx2มื้อx20 บ.)จำนวน1,800 บาท2.ค่าอาหารกลางวัน(45 คนx1มื้อx50 บ.)จำนวน 2,250 บาท 3.ค่าวิทยากร(600บ.x4คนx3ชม.)จำนวน 7,200 บาท4.ค่าวัสดุอุปกรณ์(ป้ายไวนิล 380บาทx1ป้าย,เอกสารประกอบการอบรม45ชุดx20 บาท)จำนวน 1,280 บาท
12530เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสาวยุภารัตน์ สุกกล้ากลุ่มงานโภชนศาสตร์
62
2/10/2020, 16:22:45นางสาวยุภารัตน์ สุกกล้ากลุ่มงานโภชนศาสตร์0812849856
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
กลุ่มงานโภชนศาสตร์เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริการอาหารแก่ผู้ป่วย ซึ่งกระบวนการผลิตอาหารผู้ป่วยจะมีกระบวนการตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การเตรียม/การปรุงประกอบอาหาร การเก็บรักษา การบริการผู้ป่วย ซึ่งบุคลากรผู้เกี่ยวข้องกับอาหารผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพ ทักษะ ทั้งองค์ความรู้เดิมและองค์ความรู้ใหม่ๆ
เพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานในด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เจ้าหน้าที่โภชนศาสตร์
จัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร อาหารที่เหมาะสมตามกลุ่มโรค อาหารตามหลักโภชนาการ การดัดแปลงอาหาร ศิลปะการประกอบ/การจัดตกแต่งอาหาร เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง
เจ้าหน้าที่กลุ่มงานโภชนศาสตร์ จำนวน 18 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.12 ค่าสมนาคุณวิทยากร, 1.13 ค่าอาหาร
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(18คนx20บx2มื้อ)จำนวน 720 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน(18คนx50 บาทx1มื้อ)จำนวน 900 บาท 3.ค่าวิทยากร(600 บาทx2คนx3 ชม.)จำนวน 3,600 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ จำนวน 1,000 บาท
6220เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสาวยุภารัตน์ สุกกล้ากลุ่มงานโภชนศาสตร์
63
4/10/2020, 7:26:03สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
การตรวจสุขภาพในประชาชนทั่วไปประจำปี2564
ในปัจจุบันการทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา ขาดการออกกำลังกาย หรือการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามมา โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ และหากทราบความผิดปกติตั้งแต่เริ่มแรกโอกาสที่จะแก้ไข หรือรักษาให้หายยิ่งมีมากขึ้น การที่ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรง ทำให้ขาดงาน ลาป่วยบ่อย ซึ่งมีผลกระทบต่อหน้าที่การทำงานหรือการดำเนินชีวิตโดยตรงและยังมีผลกระทบกับประเทศด้วย เนื่องจากการใช้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลที่นับวันจะมีประมาณเพิ่มมากขึ้นการตรวจสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการตรวจแก่ผู้ที่ยังไม่มีอาการผิดปกติใดๆ หรืออาจะมีความผิดปกติเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจน การตรวจสุขภาพนี้เป็นเพียงการค้นหาโรคที่อาจแฝงอยู่โดยยังไม่ปรากฎอาการผิดปกติ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน ไขมันในเลือดสูง เป็นต้นการตรวจสุขภาพ ช่วยให้สามารถตรวจพบโรคเหล่านี้ในระยะเริ่มต้น เป็นประโยชน์ในการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค ทำให้ได้ผลในการรักษาที่ดี ลดความรุนแรง ภาวะแทรกซ้อน หรือความพิการต่างๆ ที่อาจเกิดจากโรคบางโรคได้ซึ่งในการตรวจสุขภาพประจำปี จะเป็นส่วนหนึ่งของการการคัดกรอง เฝ้าระวังสุขภาพอนามัย เพื่อก่อให้เกิดแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมหรือเข้ารับการรักษาที่ถูกต้องจากแพทย์ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีถ้วนหน้าได้
การให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีประชาชนทั่วไป อำนวยความสะดวกด้านบริการตรวจสุขภาพและให้ความรู้ด้านสุขภาพตามความเหมาะสม เป็นแนวทางหนึ่งที่กระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
1. เพื่อคัดกรองสุขภาพผู้รับบริการตรวจสุขภาพประจำปี
2. เพื่อให้ผู้รับบริการตรวจสุขภาพที่พบความผิดปกติหรือพบโรคได้รับการรักษา
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี
4. เพื่อเพิ่มรายได้ของโรงพยาบาล
1. ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนจัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
2. ประชุมชี้แจงและประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานต่างๆ เพื่อพิจารณาแบ่งความรับผิดชอบ
3. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สร้างกระแสให้บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตรวจสุขภาพประจำปี
4. ประสานงานกับหน่วยงานที่มีความประสงค์ตรวจสุขภาพประจำปี
5. ให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีตามวันเวลาที่ได้ประสานงานไว้
4000 คนเงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.7 ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร, 1.15 ค่ายานพาหนะ
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้รับบริการตรวจสุขภาพ จำนวน 20000 บาท

2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
2. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการออกหน่วยตรวจสุขภาพ จำนวน 15000 บาท
3. ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่(OT) จำนวน 5000 บาท
40000เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
64
4/10/2020, 8:19:31สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
ตรวจสุขภาพประจำปีบุคลากรโรงพยาบาลศรีสังวร ประจำปี 2564
การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างสมรรถนะ ให้คนเรามีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้น การส่งเสริมสุขภาพ เป็นการเอื้ออำนวยให้มีสภาวะร่างกาย จิตใจ และความเป็นอยู่ในสังคมที่สมบูรณ์ ในการที่จะบรรลุการมีสุขภาพดี ถือเป็นแนวความคิดด้านบวกส่วนบุคคล การส่งเสริมสุขภาพจึงไม่ใช่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสุขภาพเท่านั้น แต่รวมไปถึงการที่บุคลากรมีการปฏิบัติให้เกิดวิถีชีวิตที่ดีเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี
การทำงานที่ต้องแข่งกับเวลา ขาดการออกกำลังกาย มลพิษต่างๆในสิ่งแวดล้อม หรือการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้ร่างกายอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพพลานามัยได้ การตรวจสุขภาพจะช่วยให้ทราบว่าขณะนี้ร่างกายอยู่ในระดับไหน มีโรคร้ายแฝงอยู่หรือไม่ โดยเฉพาะโรคที่อยู่ในขอบเขตที่การแพทย์ปัจจุบันสามารถตรวจพบได้ ซึ่งจะทำให้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนของโรค และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การให้บริการตรวจสุขภาพ จึงเป็นการอำนวยความสะดวกในการรับบริการตรวจสุขภาพและทำให้เจ้าหน้าที่สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพรายบุคคลตามบริบทของแต่ละบุคคล
ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในโรงพยาบาลตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม จึงได้จัดทำ “ ตรวจสุขภาพประจำปีบุคลากรโรงพยาบาลศรีสังวร” ประจำปี 2564 นี้ขึ้น
1.ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี และใส่ใจในสุขภาพของตนเอง
2.เพื่อให้บุคลากรในโรงพยาบาลทราบปัจจัยเสี่ยงในการที่จะเกิดภาวะเจ็บป่วยในอนาคตของตนเอง
3.เพื่อสร้างความตระหนักให้บุคลากรดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ส่งจดหมายเวียนหน่วยงานประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสุขภาพ
2. ขอข้อมูลรายชื่อเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของโรงพยาบาลส่งหน่วยงานเพื่อตรวจสอบ
3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
การดำเนินการ
1. จัดเตรียมเอกสารในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2. ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรในหน่วยงานโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยทุกคนได้รับทราบ
3. ประชุมคณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจสุขภาพ
4. ตรวจสุขภาพตามแนวทางที่กำหนดเป็นมติจากที่ประชุมคณะทำงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. ติดตามผลการรักษาละการดูแลสุขภาพ
บุคลากร จำนวน 780 คน ในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
เงินบำรุง รพ.1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์1. ค่าlab ค่า X-RAY จำนวน 50000 บาท

2.2 ค่าใช้สอย
2. ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ จำนวน 5000 บาท
55000เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
65
4/10/2020, 8:39:07สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
ตรวจประเมินสภาพแวดล้อม (แสง เสียง ความร้อน) ปีงบประมาณ 2564
การตรวจแสง เสียง ความร้อน เพื่อตรวจประเมินสภาพแวดล้อมว่าเหมาะสมในการทำงานหรือไม่ เพื่อช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุจากงานจัดเป็นเรื่องที่จำเป็นจะต้องมีการจัดทำการตรวจประเมิน เพื่อปรับสภาพแวดล้อมในการทำงานให้เหมาะสมต่อไป
1. เพื่อตรวจวัดระดับแสง ความเข้มเสียง และ ระดับความร้อนในแต่ละแผนกของโรงพยาบาล
2. เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนสภาพการทำงานในโรงพยาบาล
ดำเนินการให้มีการตรวจวัด แสง เสียง ความร้อน ในแต่ละแผนกของโรงพยาบาล โดยคาดว่ามีการตรวจวัดอย่างน้อยอย่างละ 40 จุด

ผลการตรวจวัดแสงเสียงและความร้อนภายในโรงพยาบาล
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.8 ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม



2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
การตรวจวัดแสงจุดละ 300 บาท เป็นจำนวน 40 จุด = 12,000 บาท
การตรวจวัดเสียงจุดละ 300 บาท เป็นจำนวน 40 จุด = 12,000 บาท
การตรวจวัดความร้อนจุดละ 300 บาท เป็นจำนวน 40 จุด = 12,000 บาท
36000เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
5) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
66
4/10/2020, 8:43:50สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการควบคุมคุณภาพน้ำดื่มและน้ำเสียในโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่มน้ำใช้ และน้ำที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล และเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันน้ำที่ผ่านระบบบำบัดไม่ได้คุณภาพลงสู่แหล่งน้ำสาธารณในชุมชน ตัวชี้วัด
1.เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่มน้ำใช้ และน้ำที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล
2.เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันน้ำที่ผ่านระบบบำบัดไม่ได้คุณภาพลงสู่แหล่งน้ำสาธารณในชุมชน
1.ดูแลระบบน้ำประปา ระบบบำบัดน้ำเสียร่วมกับฝ่ายบริหาร และเฝ้าระวังคุณภาพดื่มน้ำใช้และน้ำที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียของโรงพยาบาล
2.เก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง น้ำประปาและน้ำดื่มศรีสังวรส่งตรวจในห้องปฏิบัติการที่ ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย
3.กำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาน้ำดื่มน้ำใช้ กรณีตกเกณฑ์มาตรฐานโดยกก.IC. ENV. อาชีวเวชกรรม
4.ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพน้ำเสียในระบบบำบัดน้ำเสียตามตารางการปฏิบัติงาน
1.น้ำดื่มน้ำใช้ใน รพ.ต้องได้คุณภาพ ไม่ตกเกณฑ์มาตรฐานน้ำดื่ม-น้ำใช้ ร้อยละ 100
2.น้ำทิ้งที่ผ่านระบบบำบัดน้ำเสียต้องได้ตามเกณฑ์มาตรฐานทุกตัวชี้วัด
เงินบำรุง รพ.2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ
-ค่าส่งตรวจอย่างน้ำเสีย 4 เดือนครั้ง ครั้งละ 8800 *3=26,400
-ค่าส่งตรวจน้ำที่ มน. เดือนละครั้ง 12 ครั้งละ 3030*12=36,360
-ค่าชุดตรวจน้ำ (อ.11) 6 เดือนครั้ง 50 จุด 100*15=1500
64260เดือนที่ 3เดือนที่ 3เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
7) โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
67
4/10/2020, 8:47:58สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม0867345187
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ปีงบประมาณ 2564
กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เป็นกลุ่มงานที่พึ่งเริ่มมีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการมาไม่นาน การดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงานรวมถึงงานอาชีวเวชกรรมอื่นๆ ซึ่งถือเป็นกลุ่มงานให้ที่มีการจัดตั้งขึ้น โดยในงานอาชีวอนามัยประกอบด้วยหลายองค์ประกอบนอกเหนือจากการตรวจสุขภาพเพียงอย่างเดียว การพัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยพาไปเยี่ยมชมสถานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมที่มีงานอาชีวเวชกรรมอย่างเข้มแข็ง เพื่อให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติในเครือข่ายที่เข้มแข็งจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้ปฏิบัติงานให้กับกลุ่มงาน
1. เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมมีการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เข้าใจขอบโครงสร้างของหน่วยงาน
ดำเนินการให้มีการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสถานประกอบการ ประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้
การเยี่ยมชมศูนย์อาชีวเวชกรรม ศูนย์เวชศาสตร์อุตสาหกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา และ โรงพยาบาลระยอง
เจ้าหน้าที่กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เงินบำรุง รพ.2.1 ค่าตอบแทน, 2.2 ค่าใช้สอย, 2.3 ค่าวัสดุ, 2.4 ค่าสาธารณูปโภค
ค่าเช่ารถตู้ 3 วัน = 12,000 บาท
ค่าห้องพัก 3 วัน 8 คน คนละ 900 บาท = 21,600 บาท
เบี้ยเลี้ยง 8 คน คนละ 240 บาท 4 วัน = 7,680 บาท
ค่าวิทยากรเบ็ดเตล็ด = 5,000 บาท
46280เดือนที่ 3สุรเชษฐ์ กังวาลอาชีวเวชกรรม
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
43) โครงการพัมนาระบบบริการอื่น ๆ3) สถานบริการภาครัฐ ภาคเอกชน
68
6/10/2020, 15:01:16วนิดา ศรีม่วงคลินิกจักษุ0818885756
โครงการค้นหาแลคัดกรองผู้สูงอายุที่มีสายตาผิดปกติ 5 อำเภอโซนเหนือ จังหวัดสุโขทัย ปีงบประมาณ 2564
ผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกลเข้าถึงบริการด้านจักษุยาก และพบผู้ป่วยสูงอยุที่มีปัญหาด้านสายตาจำนวนมากโดยเฉพาะต้อกระจก ต้อหิน และเบาหวานขึ้นตา
เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสายตาและให้การรักษาโดยเร็ว
1.อสม./รพ.สต./รพช.คัดกรองสายตาผู้สูงอายุเบื้องต้นและติดตามผู้ป่วยเบาหวานทุกรายมารับการตรวจตา
2.ทีมจักษุออกหน่วยคัดกรองสายตาและส่งต่อการรักษา
3.กรณีเกินขีดควาสามารถส่งต่อการรักษาให้รพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า
1.ผู้สูงอายุที่มีสายตาาผิดปกติ 2500 คน
2.ผู้ป่วยเบาหวาน อ.ศรีสำโรง 3000 คน
เงินบำรุง รพ.2.1 ค่าตอบแทน
1.ออกหน่วยรพช.= ค่าเบี้ยเลี้ยงทีมจักษุ 4 คน*240 บาท*10วัน =9600 บาท
2.ออกหน่วยอ.ศรีสำโรง = ค่าเบี้ยเลี้ยงทีมจักษุ 4คน*120 บาท*19วัน = 9120 บาท
รวม 18720 บาท
18720เดือนที่ 1เดือนที่ 1เดือนที่ 1วนิดา ศรีม่วงคลินิกจักษุไม่มี
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
22) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา
11) ไม่มีไม่มี
69
7/10/2020, 15:36:24นายกิจจา อ่วมแก้วเคมีบำบัด0882733478
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
โรคมะเร็งเป็นปัญหาสำคัญ มีอัตราตายเป็นอันดับ 1 ของประเทศ จังหวัดสุโขทัยก็เช่นกัน จึงต้องมีการพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็งเพื่อลดการการเกิดโรคมะเร็ง รักษาได้ครอบคลุมทั่วถึง
พัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง เน้นการคัดกรองโรคมะเร็ง ลดการเกิดโรค รักษาได้ตามแผนการรักษา
1.ประชุมคณะทำงาน 3 ครั้ง (1,500)
2.คัดกรองโรนคมะเร็ง (ชุดตรวจ FIT 33,600)
3.Sukhothai Cancer Day (5,600)
4.ติดตามการดำเนินงานคัดกรอง และคัดกรองผู้ป่วยทำ Colonoscopy (2,400)
คณะทำงาน 20 คน และประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็ง 132,000 ราย
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่ (PPA) (สปสช)
1.5 ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
กิจกรรม 1.ค่าอาหารว่าและครื่องดื่ม 25 บาท x 20 คน x 3 มื้อ =1500

กิจกรรม 3. ทำแผ่นพับ 140 ชุดx5 =700
ค่าจัดทำไวนิล 28 x 200 = 5600

2.1 ค่าตอบแทน, 2.3 ค่าวัสดุ
กิจกรรม 2 ชุดตรวจ 33,600 PPA
กิจกรรม 3 เบี้ยเลี้ยง 120 บาท x 10 คน = 1200
กิจกรรม 4 เบี้ยเลี้ยง 120 บาท x 5 คน x 4 ครั้ง = 2400
45000เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3กิจจา อ่วมแก้วเคมีบำบัด
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
20) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง
11) ไม่มี
70
20/10/2020, 14:04:14นพมาศ รัตนาวิบูลย์ กลุ่มงานจิตเวช055682030
พัฒนาศักยภาพและเสริมพลังผู้ดุแลผู้ป่วยจิตเวช อำเภอศรีสำโรง
แนวโน้มผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการก้าวร้าวรุนแรงมีจำนวนมากขึ้น พบว่าเกิดจากหลายๆสาเหตุ เช่น ศักยภาพของผู้ดูแล ขาดผู้ดูแล ผู้ป่วยขาดยา ไม่ยอมรับการเจ็บป่วย ใช้สุราและสารเสพติด จำเป็นต้องมีการเสริมศักยภาพรวมถึงเสริมพลัง ให้แก่ผู้ดูแล อสม.และ จนท.สาธารณสุขในพื้นที่
เพื่อให้ ผู้ดูแล อสม.และ จนท.สาธารณสุขในพื้นที่ เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผุู้ป่วยจิตเวช ให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ในชุมชน
-เสริมทักษะความรู้ รวมถึงเสริมพลังและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แก่ผู้ดูแล อสม.และ จนท.สาธารณสุขในพื้นที่ ในรูปแบบกิจกรรมกลุ่มบำบัด
1.ผู้ดูแล และอสม.ที่ดูแลผู้ป่วยจิตเวชจำนวน 36 คน
2.จนท.สาธารณสุขในพื้นที่ จำนวน 14 คน
เงินบำรุง รพ.
1.3 ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์, 1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
-ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้จัดประชุม จำนวน 3 คนๆละ 80 บาท จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงิน 960 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้จัดประชุม จำนวน 3 คนๆละ 20 บาท 2 มื้อ จำนวน 4 ครั้ง
เป็นเงิน 480 บาท
-ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าประชุม จำนวน 50 คนๆละ 80 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าประชุม จำนวน 50 คนๆละ 20 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 560 บาท
สรุปรวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 8,000 บาท (แปดพันบาทถ้วน)
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้
8000เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 2, เดือนที่ 3อนุพงศ์ คำมากลุ่มงานจิตเวช
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
17) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
11) ไม่มี
71
27/10/2020, 14:25:39นางสาวสุภัทรา เปี่ยมอ่อน
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง
0812801674
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว ปี 2564 อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง ได้เห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพมาตรฐาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว 5 ดาว 5 ดี จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัยปี 2564 ขึ้น เพื่อยกระดับคุณภาพการบริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ ต่อไป

เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้บรรลุเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมินมาตรฐานรพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
2. กิจกรรมประชุมติดตามความพร้อมประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
3. กิจกรรมประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 60 คน
2. คณะกรรมการประเมินคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว จำนวน 15 คน
3. คณะกรรมการพี่เลี้ยง รพ.สต.ติดดาว จำนวน 16 คน
4. ภาคีเครือข่ายสุขภาพ จำนวน 100 คน
5. คณะทำงาน รพ.สต.ติดดาวระดับอำเภอ และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. จำนวน 30 คน
งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework: QOF)
1.9 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม, 1.13 ค่าอาหาร
1. กิจกรรมประชุมชี้แจงเกณฑ์ประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
- กิจกรรมประชุมชี้แจงเกณฑ์ฯ คณะกรรมการและทีมพี่เลี้ยง
ค่าอาหารว่าง จำนวน 30 คน x 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
- กิจกรรมประชุมชี้แจงเกณฑ์ฯ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง จำนวน 60 คน x 120บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
2. กิจกรรมประชุมติดตามความพร้อมประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
-กิจกรรมประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอ
ค่าอาหารว่าง จำนวน 16 คน x 25 บาท เป็นเงิน 400 บาท
-กิจกรรม ทีมพี่เลี้ยง ลงพื้นที่
ค่าเบี้ยเลี้ยงทีมพี่เลี้ยงจำนวน 16 คน x 120 บาท x 5 วัน เป็นเงิน 9,600 บาท
3. กิจกรรมประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
- กิจกรรมการประเมิน รพ.สต.ในพื้นที่
ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะกรรมการประเมิน จำนวน 15 คน x 120 บาท x 4 วัน เป็นเงิน 7,200บาท
4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน รพ.สต.ติดดาว 5 ดาว 5 ดี
-กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด
ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง จำนวน 100 คน x 120 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
-กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับเขต
ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง จำนวน 60 คน x 120 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
-กิจกรรมถอดบทเรียน
ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง จำนวน 40 คน x 120 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
2.1 ค่าตอบแทน49150เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3เดือนที่ 1, เดือนที่ 2, เดือนที่ 3นางสาวสุภัทรา เปี่ยมอ่อน
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีสำโรง
2) ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
34) โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ11) ไม่มี
72
3/11/2020, 11:41:19
ขวัญนิญานันท์ เชื้อชาติทองธกุล
งานกิจกรรมบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
0979462683
ชวนกันเล่นให้ลูกกล้าและมีความสุข (play group)
เด็กปฐมวัยหรือในช่วง ๐ - ๕ ปี เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดที่เด็กจะมีการพัฒนาไปได้อย่างรวดเร็วทั้งด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว สมอง ภาษา อารมณ์และสังคม ในช่วงวัยนี้จึงถือได้ว่าเป็นช่วงของการสร้างรากฐานการเจริญเติบโต และการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต เด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการดูแล และการกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
ครอบครัวเป็นสถาบันแห่งแรกของสังคมที่เป็นจุดเริ่มต้นของความสุข ความรัก ความอบอุ่น จริยธรรม รวมทั้งการสร้างเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านต่าง ๆ พ่อแม่ หรือผู้เลี้ยงดู จึงเป็นบุคคลสำคัญมากที่จะดำเนินบทบาทดังกล่าว หากเราสามารถสร้างเด็กที่มีความผูกพันทางอารมณ์ที่มั่นคงกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้ จะส่งผลให้เด็กรู้จักกินเป็น เล่นเป็น ฟังเป็น รักคนอื่นเป็น มีจิตใจที่ดี มีการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม ยอมรับนับถือตนเอง และได้รับการยอมรับจากผู้อื่น ท้ายที่สุดเด็กจะมีความฉลาดทางอารมณ์พร้อมที่จะออกสู่สังคม และเผชิญโลกภายนอกได้อย่างมีความสุขและเข้มแข็งต่อไป เด็กพัฒนาการล่าช้าก็จะน้อยลง
งานกิจกรรมบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างพื้นฐานทางอารมณ์ที่เข้มแข็ง โดยเริ่มต้นคือต้องสร้างความผูกพันทางอารมณ์ระหว่างเด็กกับผู้เลี้ยงดู รวมถึงการใช้เวลาคุณภาพระหว่างผู้ปกครองและเด็ก ดังนั้นจึงได้จัดตั้งโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้ปกครองได้ใช้เวลาคุณภาพกับบุตรหลาน และมีแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัยของการเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าเรียน ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข
1. ผู้ปกครองตระหนักถึงการใช้เวลาคุณภาพร่วมกับบุตรหลาน
2. ผู้ปกครองมีแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาการบุตรหลานตามช่วงวัย
1. ลักษณะกิจกรรม play group ส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน
2. จัดกิจกรรมในช่วงเวลาปิดเทอม อย่างน้อยจำนวน 4 ครั้ง / ปี
3. ลักษณะของกิจกรรมแบ่งเป็น 4 รูปแบบ
3.1 Sensory play
3.2 Creative craft
3.3 Dramatic play
3.4 Montessori play
1. ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปีที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ครั้งละ 6 คน
อื่น ๆ-0เดือนที่ 1เดือนที่ 2
ขวัญนิญานันท์ เชื้อชาติทองธกุล
กิจกรรมบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
1) ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
1) โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
11) ไม่มี
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100